ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1.5 เมตร ลำต้นเป็นเหลี่ยม รูปทรงกระบอก ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 5-16 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกย่อยบาน กว้าง 1.5-2 ซม. กลีบรองดอก 5 แฉก กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดโค้งงอ ปลายแยก 5 กลีบ เกสรผู้ 4 อัน ผล เมื่อแก่แล้วแตก เมล็ดแบนสีน้ำตาลขนาดเล็ก
- ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1.5 เมตร ลำต้นเป็นเหลี่ยม รูปทรงกระบอก ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 5-16 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกย่อยบาน กว้าง 1.5-2 ซม. กลีบรองดอก 5 แฉก กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดโค้งงอ ปลายแยก 5 กลีบ เกสรผู้ 4 อัน ผล เมื่อแก่แล้วแตก เมล็ดแบนสีน้ำตาลขนาดเล็ก
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย จีนตอนใต้ เมียนม่าห์ ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทยพบตามพื้นที่ชุ่มชื้นในป่าดงดิบ ทางภาคเหนือ ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
- อินเดีย จีนตอนใต้ เมียนม่าห์ ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทยพบตามพื้นที่ชุ่มชื้นในป่าดงดิบ ทางภาคเหนือ ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลภูมิปัญญา
- ห้อมใบใหญ่ :: ชื่อวิทยาศาสตร์ : Strobilanthes cusia (Nees) Kuntzeชื่อพ้อง : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek.วงศ์ : Acanthaceaeชื่ออื่น ๆ : คราม (ทั่วไป), ครามหลอย (ฉาน - แม่ฮ่องสอน), ฮ่อมเมือง (น่าน-เหนือ)ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : วิสัย : เป็นไม้พุ่ม ที่ลำต้นตั้งตรงสูงได้ถึง 1 – 1.5 เมตร ใบ : ใบเดี่ยว เรียงแบบตรงข้าม รูปร่างใบรูปรี ขนาดใบกว้างประมาณ 6 ซม. ยาวไม่เกิน 20 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอก : ออกดอกเป็นช่อ ที่ซอกใบ ดอกสีม่วง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดโค้งงอรูปทรงกระบอก ยาว 3 – 4 ซม. ปลายดอกแยกเป็น 5 กลีบ เมื่อดอกย่อยบานออกจะมีขนาดกว้าง 1.5 – 2 เซนติเมตร ใบประดับรองรับกลีบเลี้ยง ปลาย