ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ทุกส่วนมีรสขมมาก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบหรือปลายยอด ดอกสีขาวมีลาย สีม่วง ผลรูปรี แห้งแล้วแตกออก มีเมล็ดสีนํ้าตาลจำนวนมาก ออกดอก ช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ล้มลุก ทรงพุ่มสูงประมาณ 30-100 เซนติเมตร ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม กิ่งแขนงจำนวนมาก ใบ:ใบเดี่ยวออกตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบรูปไข่หรือรี กว้าง 1-4 เซนติเมตร ยาว 2-12 เซนติเมตร ฐานใบแหลม ปลายใบแหลมหรือค่อนข้างเรียวแหลม ขอบใบหยักมนดอก:ดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง ออกที่ปลายยอดหรือซอกใบใกล้ยอด ดอกสีขาวแกมม่วง มีขน ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงโคนติดกัน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ปลายเรียวแหลมและมีขน กลีบดอกสีขาว มีขน กลีบเชื่อมเป็นหลอดยาว ปลายแยกเป็น 2 ส่วน เหมือนปาก กลีบบนปลายหยักเว้าเป็น 3 แฉก สีขาวมีแต้มสีม่วงเข้ม กลีบล่างปลายหยักแหลมเป็น 2 แฉก เกสรตัวผู้ 2 อัน มีขน อับเรณูสีม่วงเข้ม มี 2 ห้อง รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมียเรียวแหลม ผล:ผลเป็นฝักแบบแคปซูลชูตั้ง กว้าง 2-4 มิลลิเมตร ยาว 1-2 เซนติเมตร สีน้ำตาล ผลแตกตามยาว มีแรงดีดแยกเป็น 2 ส่วน เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวน 8-14 เมล็ดเปลือก:อื่นๆ:

ไม้ล้มลุก ทรงพุ่มสูงประมาณ 30-100 เซนติเมตร ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม กิ่งแขนงจำนวนมาก
ใบเดี่ยวออกตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบรูปไข่หรือรี กว้าง 1-4 เซนติเมตร ยาว 2-12 เซนติเมตร ฐานใบแหลม ปลายใบแหลมหรือค่อนข้างเรียวแหลม ขอบใบหยักมน
ดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง ออกที่ปลายยอดหรือซอกใบใกล้ยอด ดอกสีขาวแกมม่วง มีขน ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงโคนติดกัน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ปลายเรียวแหลมและมีขน กลีบดอกสีขาว มีขน กลีบเชื่อมเป็นหลอดยาว ปลายแยกเป็น 2 ส่วน เหมือนปาก กลีบบนปลายหยักเว้าเป็น 3 แฉก สีขาวมีแต้มสีม่วงเข้ม กลีบล่างปลายหยักแหลมเป็น 2 แฉก เกสรตัวผู้ 2 อัน มีขน อับเรณูสีม่วงเข้ม มี 2 ห้อง รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมียเรียวแหลม
ผลเป็นฝักแบบแคปซูลชูตั้ง กว้าง 2-4 มิลลิเมตร ยาว 1-2 เซนติเมตร สีน้ำตาล ผลแตกตามยาว มีแรงดีดแยกเป็น 2 ส่วน เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวน 8-14 เมล็ด

- ไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ทุกส่วนมีรสขมมาก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบหรือปลายยอด ดอกสีขาวมีลาย สีม่วง ผลรูปรี แห้งแล้วแตกออก มีเมล็ดสีนํ้าตาลจำนวนมาก ออกดอก ช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ทุกส่วนมีรสขมมาก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบหรือปลายยอด ดอกสีขาวมีลาย สีม่วง ผลรูปรี แห้งแล้วแตกออก มีเมล็ดสีนํ้าตาลจำนวนมาก ออกดอก ช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ทุกส่วนมีรสขมมาก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบหรือปลายยอด ดอกสีขาวมีลาย สีม่วง ผลรูปรี แห้งแล้วแตกออก มีเมล็ดสีนํ้าตาลจำนวนมาก ออกดอก ช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ลำต้นสูง 35-65 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.9-3.6 มิลลิเมตร ใบกว้าง 1.7-2.6 เซนติเมตร ยาว 3.0-9.8 เซนติเมตร ช่อดอกยาว 8-12 เซนติเมตร ขนาดฝักยาว 1.4-2.0 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
- -
- พบได้ทั่วไปตั้งแต่พื้นที่ราบต่ำจนถึงที่ความสูงประมาณ 3,200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
- -
- -
- -
- พบขึ้นอยู่ทั่วไปในพื้นที่ป่าโปร่ง มีร่มเงาปานกลาง ตามที่เนินเขา ดินร่วนดำและดินปนหินแร่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงมะอี่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เป็นพืชล้มลุก ลำต้นตั้ง กิ่ง ลำต้น มีลักษณะเป็นเหลี่ยม ใบเดี่ยวเรียงตรงกันข้ามกัน ใบเป็นแบบรูปขอบขนาน (oblong) ส่วนโคนเรียวและเรียวไปที่ปลายใบ หน้าใบและหลังใบไม่มีขน กิ่งใบและลำต้นสีเขียวเข้ม ออกดอกที่ยอดและตาข้าง ออกดอกตลอดทั้งปี ช่อดอกแบบช่อกระจะ (raceme) กลีบเลี้ยงสีเขียวมี 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวมีกระสีม่วงแดง แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนบนมี 3 แฉก มีแถบสีม่วงแดงพาดตามยาว กลีบดอกส่วนล่างขนาดเล็กกว่าแยกเป็น 2 แฉก โคนติดกันเป็นหลอดสั้นๆรูปปากเปิด (bilabiate) อับเรณู ( anther) สีม่วงอมแดง ก้านชูอับเรณู (filament) สีม่วงแดงปนขาวและมีปุยขนยาว 0.3-0.5 มิลลิเมตรปกคลุม เกสรเพศเมียสีม่วงอมน้ำตาลแดง ลักษณะผลเหมือนฝักต้อยติ่ง เมื่อแก่จะแตกออกเป็น 2 ซีก ทำให้เมล็ดกระจายขยายพันธุ์ได้มาก
ถิ่นกำเนิด :
- ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานีพื้นที่มีความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 150-482 เมตร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
สถานที่ชม :
- ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา, ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สตูล
การขยายพันธุ์ :
- ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ใบ ต้มน้ำดื่มแก้ไข้