ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็กมาก (15 ชม) ด้านบนลำตัวเป็นสีน้ำเงินเข้ม อกมีลายพาดสีเดียวกับลำตัว คอหอยและหน้าผากสีน้ำตาลเหลือง หางเว้าลึก ด้านล่างลำตัวรวมทั้งปีกสีขาว-น้ำตาลเหลือง
- ขนลำตัวด้านบนสีดำเหลือบน้ำเงินเป็นมัน หน้าผากและคอสีน้ำตาลแดงเข้มมีแถบดำเหลือบน้ำเงินพาดอก ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกสีขาว หางแฉกลึก ขนหางคู่นอกยาวที่สุด และจะยาวมากขึ้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ขนหางแต่ละเส้นยกเว้นคู่ในสุดมีจุดสีขาว ชนิดย่อย tytleri ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกแกมสีน้ำตาลแดงอ่อน นกไม่เต็มวัย ขนลำตัวด้านบนดำแกมน้ำตาล แถบคาดอกดำ หน้า
ผากและคอน้ำตาล
- มีขนาดประมาณ 15 เซนติเมตร ลักษณะเด่น ตัวเต็มวัยลำตัวด้านบนสีน้ำเงินเข้มเกือบดำ คอและหน้าผากสีน้ำตาลแดง อกเป็นลายพาดสีดำ ท้องและขนคลุมโคนหางด้านล่างสีขาว ขนหางคู่นอกยาวยื่นออกมาซึ่งอาจจะยาว มากกว่า 5 เซนติเมตร ขนหางมีแถบสีขาวทั้งด้านบนและด้านล่าง ตัวไม่เต็มวัยลำตัวด้านบนสีน้ำเงินจางๆ เกือบเป็นสีเทา คอ คางสีเหลืองอ่อน อกเป็นลายพาดสีน้ำตาลจางๆ ท้องและขนคลุมโคนหาง ด้านล่างสีขาว ขนหางคู่นอกสั้นไม่ยาวยื่นออกมา ไข่สีขาวมีลายจุดแต้มสีน้ำตาลแกมม่วงหรือสีแดงอ่อนๆ โดยเฉพาะไข่ทางด้านป้าน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ขนลำตัวด้านบนดำเหลือบน้ำเงินเป็นมัน หน้าผากและคอน้ำตาลแดงเข้มมีแถบดำเหลือบนำเงินพาดอก ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกขาว หางแฉกลึก ขนหาคู่นอกยาวที่สุดและจะยาวมากขึ้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ขนหางแต่ละเส้นยกเว้นคู่ในสุดมีจุดสีขาว ชนิดย่อย tytleri ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกแกมสีน้ำตาลแดง นกวัยอ่อน : ขนลำตัวด้านบนดำแกมน้ำตาล แถบคาดอกดำ หน้าผากและคอน้ำตาล
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่เปิดโล่ง ตั้งแต่ที่ราบถึงความสูง 2,565 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามทุ่งโล่ง แหล่งน้ำทั่วไป และในเมือง อาจจะพบเป็นฝูงใหญ่มาก ในช่วงเช้าและเย็น จะเห็นนกนางแอ่นบ้านบินฉวัดเฉวียนอยู่กลางอากาศ เพื่อโฉบจับแมลงต่างๆ เป็นอาหารและอาจพบเกาะตามสายไฟฟ้า กิ่งไม้ ตอไม้ ระเบียง หรือขายคาบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างต่างๆ เพื่อพักผ่อน ไซ้ขน
- พื้นที่เปิดโล่ง เกาะนอนรวมกันเป็นฝูงใหญ่
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,กำแพงเพชร
- เลย
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่ริม แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก แม่น้ำปิงตอนล่าง
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ผาแต้ม
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ทำรังด้วยดินเหนียว อาจผสมด้วยหญ้า และขนนก ตามเพดานบ้าน หรือสิ่งก่อสร้างต่างๆ ไข่สีขาว มีลายจุดหรือขีดสีน้ำตาลแกมม่วง ในแต่ละรังมีไข่ 4-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 14-16 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Pathum thani
NSM Ranong
NSM Rayong
NSM Rayong
NSM Rayong
NSM Phatthalung
NSM Tak
NSM Rayong
NSM Samut prakan
NSM Rayong
NSM Phetchaburi
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Ayutthaya
NSM Uthai thani
NSM Nong bua lam phu
NSM Nong bua lam phu
NSM Nong bua lam phu
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Nakhon si thammarat
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Khon kaen
NSM Khon kaen
NSM Khon kaen
NSM Khon kaen
NSM Narathiwat
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ