ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
หัว อก และลำตัวด้านบนดำเป็นมัน ตัดกับลำตัวด้านล่าง น้ำตาลแดงแกมส้มเข้ม และตะโพกขาว หางยาวขอบหางคู่นอกขาว คล้ายตัวผู้ แต่หางสั้นกว่า หัว อก และลำตัวด้านบนแกมน้ำตาล ลำตัวด้านล่างส้มแกมน้ำตาลมากกว่า
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ตัวผู้ : หัว อก และลำตัวด้านบนดำเป็นมัน ตัดกับลำตัวด้านล่างสีน้ำตาลแกมส้มเข้มและตะโพกขาว หางยาวขอบหางคู่นอก ๆ ขาว ตัวเมีย : คล้ายตัวผู้ แต่หางสั้นกว่า หัว อก และลำตัวด้านบนแกมน้ำตาล ลำตัวด้านล่างส้มแกมน้ำตาลมากกว่า
ระบบนิเวศ :
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง ป่าไผ่ ชายป่า ที่ราบถึงความสูง 1,525 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง ป่าไผ่ ชายป่า ที่ราบถึงความสูง 1,500 เมตร เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อย
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ตราด
-
พิษณุโลก
-
บุรีรัมย์
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
พะเยา, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)