ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) บริเวณกระหม่อมมีหงอนขนขนาดสั้น หัว คอหอยและอกเป็นสีเทา ด้านบนลำตัวสีเขียวแกมเหลือง และด้านล่างลำตัวสีเหลืองหรือสีทอง
- หัวมีหงอนสั้นตั้งเป็นสัน หัวและอกสีเทา ตัดกับลำตัวด้านบนและหางสีเขียวแกมเหลือง ตะโพกและลำตัวด้านล่างสีเหลือง
- มีขนาดประมาณ 11.5-13 เซนติเมตร ต่างจากนกจับแมลงชนิดอื่นๆ ชัดเจน หัวมีหงอนสั้นตั้งเป็นสัน หัวเเละอกเทา ตัดกับลำตัวด้านบนและหางเขียวแกมเหลือง ตะโพกและลำตัวด้านล่างเหลือง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัวมีหงอนสั้นตั้งเป็นเส้น หัวและอกเทา ตัดกับลำตัวด้านบนและหางเขียวแกมเหลือง ตะโพกและลำตัวด้านล่างเหลือง
ระบบนิเวศ :
- ป่าดิบ ป่าโปร่ง ชายป่า ช่วงอพยพพบในป่าชายเลน สาวนสาธารณะ ที่ราบถึงความสูง 2,565 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- มักพบตามป่าเบญจพรรณ ป่าคงดิบขึ้น ป่าดงดิบเขา แต่ก็อาจพบได้ในพื้นราบ นิสัยเป็นนกค่อนข้างเชื่อง อาหารได้แก่ แมลงต่างๆ โดยการโฉบจับแมลงกลางอากาศ
- ป่าดิบ ป่าโปร่ง ชายป่า ช่วงอพยพอาจพบในสวนสาธารณะ
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- เลย
- มุกดาหาร
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- พิษณุโลก
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ทำรังเป็นรูปถ้วยครึ่งซีก ประกอบด้วยมอสส์ และไลเคนส์เชื่อมเข้าด้วยกันด้วยใยแมงมุมตามก้อนหิน หรือกิ่งไม้ในระดับเกือบติดดิน ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ไข่สีเนื้ออ่อน มีลายดอกดวงหรือ
ลายขีดสีเทา ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ป่าภูหลวง
- ภูผาเทิบ
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Saraburi
NSM Bangkok
NSM Phatthalung
NSM Trang
NSM Nakhon ratchasima
NSM Nakhon ratchasima
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Lampang
NSM Lampang
NSM Nan
NSM Saraburi
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Loei
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Nakhon si thammarat
NSM Nakhon si thammarat
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chaiyaphum
NSM Chaiyaphum
NSM Chaiyaphum
NSM Chiang rai
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Tak
NSM Khon kaen
NSM Chiang mai
NSM Mae hong son
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Nakhon sawan
NSM Lampang
NSM Khon kaen
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM -
NSM -
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ