ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) ในช่วงฤดูผสมพันธุ์คอหอยสีส้ม-น้ำตาลแดง ตัดกับสีของอก และด้านข้างของหัวที่เป็นสีเทา
ตัวผู้ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ และตัวเมียคอหอยสีขาว ตัดกับสีของอก และด้านข้า างของหัวสีออกน้ำตาล-เทา ทุกฤดูกาลและทุกเพศจะเห็นขนทางคู่นอกมีลายแถบสีขาว
- นกเพศผู้ ปากดำ หัวและลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมเทา หางสีดำ โคนหางคู่นอกๆ ขาว ลำตัวด้านล่างสีขาวแกมเทา
ฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้ใต้คอสีส้มเข้ม อกและท้องเทาเข้มขึ้น พฤติกรรมชอบกระดกหาง
ระบบนิเวศ :
- พบตามป่าโปรง ชายป่า สวนผลไม้ และป่าละเมาะ อาศัยและหากินตามกิ่งก้านของพ่มไม้ หรือต้นไม้ระดับต่ำโดยการโฉบจับแมลงกลางอากาศระหว่างกิ่งไม้หนึ่งไปยังอีกกิ่งไม้หนึ่ง ขณะเกาะมักจะสั่นหางขึ้นลงและแผ่หางออก
- ป่าโปร่ง สวนผลไม้ สวนสาธารณะ
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- พังงา
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- พะเยา, อุตรดิตถ์, ลำพูน, นครสวรรค์
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข III (ประกาศใช้เมื่อ 2022-06-30)

- บัญชีหมายเลข III (ประกาศใช้เมื่อ 2021-06-22)

CITES ไทย

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ