ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (20-28 ซม.) สีดำทั้งตัวตาแดง ปากสีดำ ขาดำ ปลายหางเว้าลึก ตัวไม่เต็มวัยมีลายเกล็ดสีออกขาวบริเวณท้องและขนคลุมขนปีกด้านล่าง
- มีขนาดประมาณ 27-28.5 เซนติเมตร ขนลำตัวเหลือบน้ำเงินเล็กน้อย หางแฉกลึก คล้ายหางปลา บางครั้งมีจุดขาวที่หัวตา นกวัยอ่อนอกเทาเข้ม ที่ท้องและตะโพกมีขาวแซม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ขนลำตัวดำเหลือบน้ำเงินเล็กน้อย หางแฉกลึก บางครั้งมีจุดขาวที่หัวตา นกวัยอ่อน : อกเทาเข้ม ที่ท้องและตะโพกมีสีขาวแซม
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนา พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่โปดโล่งต่าง ๆ ส่วนใหญ่พบในที่ราบ ในช่วงย้ายถิ่นผ่านอาจพบได้สูงถึง 2,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามทุ่งโล่ง ทุ่งนาและบริเวณใกล้แหล่งน้ำ นิสัยเป็นนกที่กร้าวร้าว ชอบขับไล่นกอื่นๆที่เข้ามาในถิ่นหากินของตน อาหารได้แก่ แมลงต่างๆ โดยการโฉบจับด้วยปากกลางอากาศ แต่บางครั้งก็พบจิกตามกึ่งก้านและลำต้นของไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นขนาดใหญ่
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
- เชียงใหม่
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- พะเยา
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก แม่น้ำปิงตอนล่าง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก, ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ, ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม รังเป็นรูปถ้วยดิ้นๆ ประกอบด้วยกิ่งไม้เล็กๆ ต้นหญ้า ใบไม้ และสารเยื่อใยต่างๆ เขื่อมเข้าด้วยกันด้วยใยแมงมุม ทำรังตามต้นไม้ต่างๆ โดยวางรังตามง่ามซึ่งอาจจะอยู่เกือบปลายสุดของกิ่ง ในแต่ละรังมีไข่
3-4 ฟอง ส่วนใหญ่จะมีสีขาว หรือสีครีมแกมชมพู มีลายจุด ลายดอกดวงสีดำ และน้ำตาลแกมแดง ระยะเวลาฟักไข่ 12-14 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon pathom
NSM Pathum thani
NSM Bangkok
NSM Samut prakan
NSM Samut prakan
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Nan
NSM Chon buri
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ