ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- รูปร่างคล้ายนกแซงแซวหางปลามากแต่หางแฉกไม่ลึกเท่า สีเทาเข้มเกือบดำ หน้าสีเข้มกว่า ชนิดย่อยอพยพ leucogensis สีเทาอ่อน หน้าผากดำ หน้าและกันขาว ชนิดย่อย salangensis สีเท่าเข้มกว่า eucogensis แต่หน้าขาวน้อยกว่า
- รูปร่างคล้ายนกแซงแซวหางปลามาก แต่หางแฉกไม่ลึกเท่า สีเทาเข้มเกือบดำ หน้าสีเข้มกว่า ชนิดย่อยอพยพ leucogenis สีเทาอ่อน หน้าผากดำ หน้าและก้นขาว ชนิดย่อยอพยพ salangensis สีเทาเข้มกว่า leucogenis แต่หน้าขาวน้อยกว่า
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- รูปร่างคล้ายนกแซงแซวหางปลามาก แต่หางแฉกไม่ลึกเท่า สีเทาเข้มเกือบดำ หน้าสีเข้มกว่า ชนิดย่อยอพยพ leucogenis สีเทาอ่น หน้าผากดำ หน้าและก้นขาว ชนิดย่อยอพยพ salangensis สีเทาเข้มกว่า leucogenis แต่หน้าขาวน้อยกว่า
ระบบนิเวศ :
- ชายป่า ป่าโปร่ง ที่ราบถึงความสูง 2,565 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ช่วงอพยพอาจพบในสวนสาธารณะ
- พบในสวนสาธารณะ ป่าโปร่ง
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา,พื้นที่การทำเกษตร
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เลย
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- กรุงเทพมหานคร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่แตง ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำแม่ตื่น
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม , ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Ubon ratchathani
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM -
NSM -
NSM Phatthalung
NSM Loei
NSM Lampang
NSM Loei
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chanthaburi
NSM Chiang mai
NSM Chon buri
NSM Chon buri
NSM Chon buri
NSM Chon buri
NSM Chon buri
NSM Chon buri
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chaiyaphum
NSM Chon buri
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Ubon ratchathani
NSM Mae hong son
NSM Chiang mai
NSM Songkhla
NSM Chiang mai
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ