ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ลำพูน,กำแพงเพชร
- เลย
- นนทบุรี
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ตราด
- พะเยา
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำลี้ คลองแม่ระกา
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรกรรม
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าคำหัวแฮด, ป่าเขาผาลาด, ป่าหนองแปน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กถึงขนาดเล็กกลาง (28-35 ซม.) หัวใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ปลายปีกแหลม หางเรียวยาว ปลายหางตัด ตัวเมียใหญ่กว่าตัวผู้เล็กน้อย ช่วงไหล่และโคนปีกดำ ตัดกับสีของลำตัวด้านบนซึ่งเป็นสีทาอ่อน ด้านล่างลำตัวสีขาวตลอด ทางสีดำ
- มีขนาดประมาณ 31-35 เซนติเมตร หัวและลำตัวด้านล่างขาว ตาแดง แถบตาดำ ลำตัวด้านบนเทาอ่อน เห็นแถบปีกดำตรงจากหัวไหล่ชัดเจน แข้งและตีนเหลือง ขณะบินปีกยาวปลายแหลมหัวไหล่ดำ ขนปลายปีกด้านล่างดำ ปลายขนกลางปีกอาจดำหรือเทาเข้ม มักพบกระพือปีกอยู่กับที่เพื่อมองหาเหยื่อ นกตัวอ่อน ขนลำตัวแกมน้ำตาล หัวมีลายขีดสีคล้ำ ลำตัวด้านบนมีลายเกล็ดจากขอบปลายขนสีน้ำตาลอ่อน
ระบบนิเวศ :
- พบตามทุ่งโล่ง ทุ่งนา ป่าละเมาะ และบริเวณใกล้ๆ กับแหล่งน้ำทั่วๆ ไป เป็นนกล่าเหยื่อ ซึ่งได้แก่นกขนาดเล็กต่างๆ โดยเฉพาะนกที่หากินตามพื้นดิน หรือชายน้ำ นอกจากนี้ ก็อาจจะล่าสัตว์อื่นๆ เป็นอาหารอีกด้วยเช่น กบ เขียด กิ้งก่า จิ้งเหลน และสัตว์เลื้อยคลานอื่นๆ
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม โดยทำรังตามยอดไม้ต่างๆ เป็นรังแบบง่ายๆ ด้วยการใช้กิ่งไม้ต่างๆ มาวางซ้อนทับกันหลายๆ ชั้น ทำตรงกลาง ให้เป็นแอ่ง ไข่สีสีขาว-สีเนื้อ มีลายดอกดวงหรือแถบสีแดงเรื่อๆ ในแต่ละรังจะมีไข่ 2-4 ฟอง ระยะเวลาฟัก 26 -30 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2013-06-12)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข II

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM -
NSM Samut prakan
NSM Samut prakan
NSM Pathum thani
NSM -
NSM Nakhon si thammarat
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ