ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (30 ซม.) ปากสีน้ำตาล ขาและนิ้วสีแดง ลำตัวด้านบนสีออก
น้ำตาล โดยปีกจะมีสีเข้มกว่า มีทางพาดสีเทาบริเวณขนคลุมขนปีกแถวนอก และ
บริเวณหัวปีก ขนหางคู่นอกสุดกว้าง ตอนปลายสุดมีสีขาว บริเวณคอด้านบนมีแถบสีดำ
และจุดสีขาวตลอดแถบ อกสีน้ำแดง หัวสีเทา ท้องและขนคลุมโคนขนทางด้านล่างสีขาว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัวเทา คอและลำตัวด้านล่างสีน้ำตาลแกมม่วง หลังคอมีแถบดำมีจุดขาวกระจาย หลังสีน้ำตาล หางยาวปลายขาว
ระบบนิเวศ :
- สวนและชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่เปิดโล่งต่าง ๆ ที่ราบถึงความสูง 2,040 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามป่าโปร่ง ทุ่งนา ไร่ สวน ป่าละเมาะ และป่าชายเลน มักเกาะชันอยู่ตามต้นไม้หรือสายไฟ เวลากินจะเดินลงมาหากินอยู่ตามพื้นดิน อาหารได้แก่ เมล็ดพืชต่างๆ
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- อุตรดิตถ์
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-กรกฎาคม สร้างรังแบง่ายๆ ด้วยการนำกิ่งไม้เล็กๆ และต้นหญ้ามาวางซ้อนทับกันตามกิ่งก้านของต้นไม้ ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 2 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 14-15 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ