ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- มีขนาดประมาณ 33-34 เซนติเมตร หัวสีเทาเข้ม หลังและอกเข้มกว่า ปีกเทาอ่อน แถบปีกดำ ปลายหางดำ ตัวผู้ ใหญ่กว่าตัวเมีย คอเหลือบเขียวมากกว่า นกต่างถิ่นที่ปรับตัวในธรรมชาตินานแล้ว มีการผสมพันธุ์จนมีสีขน และขนาดที่หลากหลาย
- นก
- นกขนาดเล็กถึงกลาง ( 33 ซม.) ลำตัว ป้อมหัวเล็ก คอ หางและขาสั้น ขนคลุมลำตัว
หลากสีแต่ที่พบมากที่สุดมีสีเหาเข้มและมีแถบใหญ่สีดำพาดที่ปีก 2 เส้น ปลายหาง
ดำ ขนปีกด้านล่างสีขาว คอมีแถบสีเขียวเหลือบ ปากดำและขาแดง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำแม่ริม แม่น้ำแม่แจ่ม แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก คลองสวนหมาก แม่น้ำปิงตอนล่าง
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- โดยทั่วไปหัวสีเทาเข้ม หลังและอกสีเข้มกว่า ปีกเทาอ่อน แถบปีกดำ ปลายหางดำ ตัวผู้ : ใหญ่กว่าตัวเมีย คอเหลือบเขียวมากกว่า นกต่างถิ่นปรับตัวในธรรมชาตินานแล้ว มีการผสมพันธุ์จนมีสีขนและขนาดที่หลากหลาย
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่เกษตรกรรม, บ้านเรือนและแหล่งชุมชน หน้าผาหิน
- นกพิราบป่าเป็นต้นตระกูลของนกพิราบที่เลี้ยงกันอยู่ในปัจจุบัน ในที่นี้เรียก "นกพิราบ" แทนที่จะเรียก "นกพิราบป่า" เนื่องจากส่วนใหญ่ที่พบเป็นนกพิราบเลี้ยง และปล่อยให้อยู่ตามธรรมชาติ หากินตามพื้นดินเป็นฝูงใหญ่ อาหารได้แก่ เมล็ดพืชต่างๆ
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
- สุราษฏร์ธานี
- เชียงใหม่
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- ตราด
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- การผสมพันธุ์ นกพิราบผสมพันธุ์ทั้งปี ทำรังด้วยกิ่งไม้เรียงซ้อนกันอย่างหยาบๆ ตามสิ่งก่อสร้างและซอกหิน ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 2 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 16 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Mae hong son
NSM Loei
NSM -
NSM Pathum thani
NSM Chanthaburi
NSM -
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ