ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กมาก ( 12-13 ซม.) สีสันของร่างกายเป็นสีน้ำตาลเข้ม บางครั้งมองเห็นเป็นสีออกดำ ปีกและหางเรียวและเว้าลึกตะโพกสีเข้มเช่นเดียวกับสีของหลัง
- ลำตัวผอมบาง ปีกแหลม เรียวแคบ ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม หางแหลมเมื่อกางออกเป็นแฉกลึก
- ความยาวของลำตัว ประมาณ ๑๑-๑๒ เซนติเมตร ลำตัวผอมบางปีกแหลม เรียวแคบ ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม หางแหลม เมื่อกางออกเป็นแฉกลึก
ระบบนิเวศ :
- พบตามทุ่งโล่ง ทุ่งหญ้า ทุ่งนา ป่าละเมาะ ป่าโปร่ง อยู่รวมเป็นฝูง ใช้เวลาส่วนใหญ่ ในตอนกลางวันในการบินและร่อนในระดับสูงและค่อนข้างสูงจากพื้นดิน กินแมลงต่างๆ เป็นอาหาร โดยการโฉบจับด้วยปากกลางอากาศในขณะที่บิน
- เหนือพื้นที่เปิดโล่ง เหนือป่า มักพบเป็นฝูง เกาะพักและทำรังตามใบตาลและพืชตระกูลปาล์ม
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เลย
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- ฉะเชิงเทรา
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ตราด
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ทำรังตามใบของต้นตาลหรือต้นปาล์มอื่นๆ รังเป็นรูปตะกร้า ด้านข้างติดกับใบตาลหรือปาล์ม วัสดุที่ใช้ทำรังมัก จะเป็นดอกหญ้าต่างๆ ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 2-3 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 10-11 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ภูผาเทิบ
- ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ, ป่าคำหัวแฮด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Samut prakan
NSM Mae hong son
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Nan
NSM Chon buri
NSM Chaiyaphum
NSM Chaiyaphum
NSM Surat thani
NSM Surat thani
NSM Pathum thani
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ