ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- เลย
- พังงา
- นนทบุรี
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, อุตรดิตถ์, ลำปาง, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง
- ป่าภูหลวง
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
- พื้นที่เกษตรกรรม
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เชียงราย
ระบบนิเวศ :
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- พบตามแหล่งน้ำทั่วไป มักพบเกาะกิ่งไม้หรือตอไม้ที่อยู่ในน้ำ เพื่อคอยจับเหยื่อซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นปลาขนาดเล็ก ๆ
- ทุ่งหญ้า นาข้าว ชายป่า
- ระบบนิเวศพื้นที่ปาชุมน้ำและปาใกลชุมชน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็ก (17 ซม.) ปากใหญ่ยาวและปลายปากแหลม ขนคลุมลำตัวเป็นสีน้ำเงินเหลือบ มีลายปะเล็กๆ บนหัวและปีกหลังและตะโพกเป็นสีน้ำเงิน มีแถบสีน้ำตาลพาดจากหัวตาเลยไปถึงบริเวณหูต่อด้วยแถบสีขาวเล็กๆ ขนบริเวณคางสีขาวท้องสีน้ำตาลแดง
- ขนาด 17 เซนติเมตร ปากเรียวแหลมสีดำ หัวสีน้ำเงินมีจุดสีขาว
กระจาย ข้างดวงตามีแถบสีน้ำตาลต่อกับขนคลุมหูสีขาว ลำตัวด้านบน ขนคลุมไหล่สีน้ำเงินเหลือบเป็นมัน มีจุดสีฟ้ากระจายบริเวณขนคลุมปีกหลังและตะโพกสีฟ้า หางสีฟ้าเข้ม ลำตัวด้านล่าง คางสีขาว ท้องสีน้ำตาลแดง บางตัวอาจมีสีขาวที่กลางท้อง แข้งและตีนสีแดง ตัวเมีย ปากล่างสีน้ำตาลแดง
เสียงร้อง แหลมสูง “ซิ-ซิ-ซิ”
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ทำรังตามพื้นดินริมตลิ่งโดยการขุดดินเป็นโพรงลึก ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 12 - 13 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกอพยพ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ