ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกโพระดกธรรมดาตัวผู้และตัวเมียเหมือนกัน ขนตามลำตัวมีสีเขียวสดหัวและอกสีน้ำตาลอ่อนและมีลายสีเหลืองเป็นขีด ในระยะไกล ๆ อาจจะมองไม่เห็นขีดเหล่านี้ชัดเจนนัก ปากสีเหลืองซีด สีสันของร่างกายส่วนอื่น ๆ เป็นสีเขียว หนังรอบตาสีเหลือง
-
นก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบในทวีปเอเซีย แถบทวีปเอเชียในประเทศ อินเดีย จีน ชวา และในประเทศไทยพบอยู่ทั่วทุกภาคยกเว้นภาคอิสานตอนบน
อาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่ารุ่นที่เกิดใหม่ ๆ หลังจากที่ป่าธรรมชาติถูกตัดฟันไปแล้ว บางครั้งก็พบตามสวนผลไม้ และป่าละเมาะ ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
อาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่ารุ่นที่เกิดใหม่ ๆ หลังจากที่ป่าธรรมชาติถูกตัดฟันไปแล้ว บางครั้งก็พบตามสวนผลไม้ และป่าละเมาะ ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์สงขลา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หัว อก และท้องสีน้ำตาลแกมเหลือง มีลายขีดสีน้ำตาลเข้ม ปากสีเหลืองส้ม หนังรอบตาสีเหลือง ขนลำตัวสีเขียว
ระบบนิเวศ :
-
ป่าเต็งรัง ป่าโปร่ง และสวนผลไม้ ที่ราบถึงสูง 800 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
สวน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ตราด
-
พิษณุโลก
-
บุรีรัมย์
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |