ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- กรุงเทพมหานคร
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- พะเยา
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ป่าหนองแปน, ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าคำหัวแฮด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- ลาดกระบัง
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กถึงกลาง (40-43 ซม.) สีของลำตัวทั่วๆ ไปเป็นสีน้ำตาลแดง บริเวณหัว ช่วงไหล่ และปีกจะเป็นสีน้ำตาลแดงเข้มกว่าบริเวณอื่นๆ ขนปลายปีกสีดำ เวลาบินจะเห็นสีตัดกับสีของลำตัวชัดเจน
- มีขนาดประมาณ 40-43 เซนติเมตร ลำตัวทั่วไปสีน้ำตาลแกมเหลือง กระหม่อม ท้ายทอย และหลังสีน้ำตาลเข้ม ขนคลุ่มไหล่และหางสีน้ำตาลแดง ขนปลายปีกเทาดำ ปากและขาดำ ขณะบินต่างจากนกเป็ดน้ำชนิดอื่นที่หัวและคออยู่ระดับต่ำกว่าลำตัวเล็กน้อย ปีกกว้างและกลมกว่านกเป็ดน้ำอื่นๆ บินตรงกระพือปีกไม่เร็วมาก
ระบบนิเวศ :
- อาศัยตามแหล่งน้ำขนาดใหญ่ หากินตอนกลางคืน อาหารส่วนใหญ่ได้แก่ เมล็ดข้าวเปลือกในนาข้าว ในตอนกลางวันมักว่ายน้ำพักผ่อนตามแหล่งน้ำ อาจจะหาอาหารไปด้วย โดยกินดอกและผลของดีปลีน้ำ รวมทั้งดำน้ำจับสัตว์เล็กๆ ด้วย
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม สร้างรังทั้งตามโพรงไม้และตามกอหญ้าใกล้ๆ กับแหล่งน้ำ โดยเป็นรังแบบง่ายๆ ใช้ขนนกและใบหญ้าวางซ้อนทับกัน วางไข่ครั้งละ 8-13 ฟอง ไข่สีขาว ใช้เวลาฟักไข่ 22-24 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Ubon ratchathani
NSM Bangkok
NSM Ranong
NSM Phatthalung
NSM Trat
NSM Songkhla
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ