ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
สัตว์เลื้อยคลาน
-
ความยาวยาวจากปลายปากถึงก้น 14 ซ.ม. และความยาวหาง 28 ซ.ม. เป็นกิ้งก่าขนาดกลางแผงหนามบนสันคอต่อเนื่องกับแผงหนามบนสันหลัง ในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะมีสีสันสดใส ส่วนหัวเป็นสีฟ้ามาถึงครึ่งหน้าของลำตัว ขอบปากด้านบนมีแถบขาวกว้างคาด สีข้างค่อนมาทางด้านบนมีจุดใหญ่ๆ สีน้ำตาลเรียงเป็นแนวตามยาว 3-4 จุด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ยาว 14 เซนติเมตร หาง 28 เซนติเมตร กิ้งก่าขนาดกลาง แผงหนามบนสันคอต่อเนื่องกับแผงหนามบนสันหลัง ในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะมีสีสันสดใส ส่วนหัวเป็นสีฟ้ามาถึงครึ่งหน้าของลำตัว ขอบปากด้านบนมีแถบขาวกว้างคาด สีข้างค่อนมาทางด้านบนมีจุดใหญ่ๆ สีน้ำตาลเรียงเป็นแนวตามยาว 3-4 จุด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
แม่ฮ่องสอน,เชียงใหม่,แพร่,นครสวรรค์,อุทัยธานี,กาญจนบุรี,ราชบุรี,เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,เลย,หนองคาย,สกลนคร,ชัยภูมิ,อุดรธานี,ขอนแก่น,อุบลราชธานี,สระแก้ว
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
Phangnga (Khao Lak); Krabi (Khao Nor Chuchi); Nakhon Si Thammarat (Khao Luang); Songkhla (Ton Ngachang); Yala (Bannangstar); Narathiwat (Waeng).
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พิษณุโลก
-
นนทบุรี
-
ลำพูน, เชียงราย
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
Mae Hong Son (Pang Tong); Chiang Mai (Doi Chiang Dao,
Doi Inthanon); Phrae (Mae Yom);Nakhon Sawan; Uthai Thani
(Haui Kha Khaeng); Kanchanaburi (Sai Yok); Ratchaburi
(Maenam Pachi); Phetchaburi (Kaeng Krachan); Prachuap
Khirikhan (Bang Saphan, Hua Hin); Loei (Wang Saphung);
Nong Khai (Phu Wua); Sakon Nakhon (Phu Phan);
Chaiyaphum (Phu Kieo); Udon Thani; Khon Kaen; Ubon
Ratchathani (Nam Yun); Nakhon Ratchasima (Khao Yai,
Sakaerat); Srakaew (Pang Sida, Taphraya).
Doi Inthanon); Phrae (Mae Yom);Nakhon Sawan; Uthai Thani
(Haui Kha Khaeng); Kanchanaburi (Sai Yok); Ratchaburi
(Maenam Pachi); Phetchaburi (Kaeng Krachan); Prachuap
Khirikhan (Bang Saphan, Hua Hin); Loei (Wang Saphung);
Nong Khai (Phu Wua); Sakon Nakhon (Phu Phan);
Chaiyaphum (Phu Kieo); Udon Thani; Khon Kaen; Ubon
Ratchathani (Nam Yun); Nakhon Ratchasima (Khao Yai,
Sakaerat); Srakaew (Pang Sida, Taphraya).
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
ระบบนิเวศ :
-
พบอาศัยในป่าเต็งรัง ป่าผสมผลัดใบ หย่อมสวนในเมือง
-
Inhabits evergreen forest.
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
Inhabits evergreen forest.
การกระจายพันธุ์ :
-
แหล่งอาศัยในประเทศไทยมีการกระจายเหนือคอคอดกระขึ้นไป
-
แหล่งอาศัยในประเทศไทยมีการกระจายเหนือคอคอดกระขึ้นไป
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
-
เป็นอาหาร นำมาปิ้งและลาบ โดยเฉพาะก้อยใส่มะม่วงน้อยเป็นอาหารจานโปรดของคนผู้ไทย
สถานภาพการคุกคาม
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 9 Amphibians and Raptiles in Thailand, 2543
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |