ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก
- ปลายนิ้วตีนหน้าแผ่ออกเล็กน้อย ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม บนหัวมีแถบสีน้ำตาลอ่อนหรือสีชมพูพาดขวาง ต่อด้วยแถบสีเดียวกันตั้งฉากพาดยาวมาตามขอบหลัง ขามีลายพาดสีเข้ม ใต้คางมีสีเขม่า ท้องมีลายเลอะๆ สีม่วงอมดำ พบทุกภาค
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- อึ่งอ่างบ้านเป็นอึ่งขนาดใหญ่ ความยาวจากหัวถึงก้น 6.5-7.5 เซนติเมตร ลำตัวรูปร่างสามเหลี่ยม อ้วนป้อม หน้าสั้น ระยะห่างระหว่างตากว้างกว่าความกว้างเปลือกตาอย่างเห็นได้ชัด แผ่นหูไม่ปรากฏ นิ้วเรียว ปลายนิ้วแผ่ขยายออกเล็กน้อย มือไม่มีพังผืด มีปุ่มบนฝ่ามือ 3 ปุ่ม โดยปุ่มด้านนอกมีรูปร่างยาวที่สุด ขาสั้น ตีนมีพังผืดเล็กน้อย ฝ่าตีนมีปุ่ม 2 ปุ่ม โดยปุ่มด้านในเป็นรูปอักษรวีคว่ำ ปุ่มด้านนอกรูปร่างกลมขนาดเล็ก ลำตัวด้านบนสีน้ำตาล สีน้ำตาลอมเทา หรือสีเทา อาจมีจุดสีครีมกระจายห่างๆ มีแถบกว้างสีครีมขอบดำบริเวณปลายหัว และต่อเนื่องไปตามแนวเหนือสีข้าง 2 ข้างลำตัว ท้องสีเทาอ่อน มีลายเลอะสีน้ำตาล เพศผู้มีถุงขยายเสียงบริเวณคางสีน้ำตาลดำ ลูกอ๊อดสีดำอมเทา ตาอยู่ห่างกัน และหัวค่อนข้างแผ่แบน ปากยืดและหดได้ บริเวณหางอาจมีลายเส้นพาดขวาง
ระบบนิเวศ :
- พบได้ตามพื้นป่าที่มีกองใบไม้ร่วง หรือบริเวณใกล้กับจอมปลวกสามารถพบได้ทั้งในสวน ตามบ้านเรือน และป่าธรรมชาติ แต่มักพบละแวกบ้านเรือนมากกว่า ส่วนมากพบออกมาร้องหลังฝนตก มักลอยตัวร้องในแอ่งน้ำหรือร้องในโพรงดิน อาจพบปีนขึ้นต้นไม้บ้างในบางครั้งเพื่อไปอาศัยในโพรงไม้ที่มีน้ำขังที่สูงกว่า 3 เมตร จากพื้น ส่วนมากมักปีนขึ้นไปกินมดดำหรือมดชนิดอื่นที่อาศัยตามต้นไม้ซึ่งเป็นอาหารหลัก นอกจากนี้ยังกินปลวก แมลงเม่า แมงมุม รวมทั้งแมลงขนาดเล็กชนิดอื่นที่อยู่ใกล้ๆ ในฤดูแล้งอึ่งอ่างบ้านมักขุดโพรงลงไปซ่อนตัวลึกใต้ดินร่วมกับอึ่งอ่างชนิดอื่น และจะขึ้นมาผสมพันธุ์เมื่อฝนตกหรือมีความชื้นสูง เมื่อถูกรบกวนอึ่งอ่างมักหมอบและใช้ตีนหลังขุดดินถอยลงไปหลบใต้ดินจนมิด หากถูกสัมผัสตัวมักจะพองตัวให้ดูใหญ่ขึ้น แต่ถ้าถูกบีบรัดตัวมันจะปล่อยสารเหนียวคล้ายยางใสๆ ออกมาเพื่อให้ลื่นหลุด ลูกอ๊อด มักพบเป็นกลุ่มใหญ่บริเวณทุ่งน้ำขัง แอ่งน้ำขังชั่วคราว แอ่งน้ำขังข้างถนน และบึงน้ำจืด โดยพบทั้งพื้นราบขึ้นไปจนถึงบนภูเขาสูง ลูกอ๊อดกินแพลงค์ตอนพืชและแพลงค์ตอนสัตว์เป็นอาหาร
- ชนิดพันธุ์นี้พบอาศัยอยู่ในป่าทุกชนิด รวมทั้งพื้นที่ชุมชน และเกษตรกรรม
- Inhabits all habitats including beach forest and urban areas.
- ระบบนิเวศป่าไม้, ระดับความสูงต่ำกว่า 1,000 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- กาฬสินธุ์,กำแพงเพชร,ขอนแก่น,จันทบุรี,ฉะเชิงเทรา,กาญจนบุรี,ชลบุรี,ชัยนาท,ชัยภูมิ,กระบี่,ชุมพร,เชียงราย,เชียงใหม่,ตรัง,ตราด,กรุงเทพมหานคร,ตาก,นครนายก,นครปฐม,นครพนม,นคราชสีมา,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส,น่าน,ปทุมธานี,ปราจีนบุรี,พระนครศรีอยุธยา,พะเยา,ปัตตานี,พังงา,พัทลุง,พิษณุโลก,เพชรบุรี,พิจิตร,เพชรบูรณ์,แพร่,ภูเก็ต,มหาสารคาม,มุกดาหาร,แม่ฮ่องสอน,ยโสธร,ร้อยเอ็ด,ประจวบคีรีขันธ์,ยะลา,ระยอง,ลพบุรี,ลำปาง,ลำพูน,เลย,ศรีสะเกษ,ราชบุรี,ระนอง,บุรีรัมย์,สตูล,สมุทรปราการ,สมุทรสาคร,สงขลา,สกลนคร,สมุทรสงคราม,สิงห์บุรี,สระบุรี,สระแก้ว,สุโขทัย,สุพรรณบุรี,สุราษฎร์ธานี,นนทบุรี,สุรินทร์,หนองคาย,หนองบัวลำภู,นครสวรรค์,อ่างทอง,อำนาจเจริญ,อุทัยธานี,อุตรดิตถ์,อุบลราชธานี,บึงกาฬ,อุดรธานี
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- พะเยา
- น่าน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- ตราด
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- สุราษฎร์ธานี, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- All provinces of the country.
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
การกระจายพันธุ์ :
- พบทั่วประเทศ
- พบทั่วประเทศ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, อื่นๆ
- เป็นอาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2004)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Tissue
Tissue
Tissue
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Alcohol
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ