ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
การกระจายพันธุ์ :
-
เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง
ระบบนิเวศ :
-
Evergreen forest.
-
ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ตาก,อุทัยธานี,กาญจนบุรี,เพชรบุรี,ราชบุรี,พิษณุโลก,ชัยภูมิ,เพชรบูรณ์,นคราชสีมา,ปราจีนบุรี,ฉะเชิงเทรา,จันทบุรี,สระแก้ว,สุราษฎร์ธานี,อุบลราชธานี
-
เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง
-
เลย
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Tak (Thung Yai Naresuan); Uthai Thani (Huai Kha Kaeng);
Kanchanaburi (Salak Phra); Phetchaburi (Kaeng Krachan);
Ratchaburi (Maenam Pachi); Phisanulok (Thung Salaeng
Luang); Chaiyaphum (Phu Khieo); Phetchabun (Nam Nao);
Nakhon Ratchasima (Khao Yai, Tab Lan, Khao Phang Ma);
Prachin Buri (Pang Sida); Chachoengsao (Khao Aug Ru Nai);
Chanthaburi (Khao Soi Dao); Srakaew (Ta Phraya); Surat
Thani (Khlong Saeng); Ubon Ratchathani (Yot Dom, Phu
Jong-Na Yoi).
Kanchanaburi (Salak Phra); Phetchaburi (Kaeng Krachan);
Ratchaburi (Maenam Pachi); Phisanulok (Thung Salaeng
Luang); Chaiyaphum (Phu Khieo); Phetchabun (Nam Nao);
Nakhon Ratchasima (Khao Yai, Tab Lan, Khao Phang Ma);
Prachin Buri (Pang Sida); Chachoengsao (Khao Aug Ru Nai);
Chanthaburi (Khao Soi Dao); Srakaew (Ta Phraya); Surat
Thani (Khlong Saeng); Ubon Ratchathani (Yot Dom, Phu
Jong-Na Yoi).
-
พบในทวีปเอเชียแถบประเทศอินเดีย พม่า อินโดจีน มาเลเซียและไทย ในป่าเมืองไทยสามารถจำแนกได้ 2 สายพันธุ์ย่อย คือ Bos gaurus readei เป็นสายพันธุ์ที่พบทางป่าภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ภาคเหนือและอีสาน อีกสายพันธุ์หนึ่งคือ Bos gaurus hubbachi พบทางภาคใต้และเทือกเขาตะนาวศรี
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กระทิงมีรูปร่างคล้ายวัว ขนสั้นเกรียนเป็นมันสีดำหรือแกมน้ำตาล ขาสีขาวนวลคล้ายสวมถุงเท้า บริเวณหน้าผากมีหน้าโพธิ์สีเทาปนขาวหรือปนเหลือง สันกลางหลังสูง มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย เขาโค้ง โคนเขามีสีเหลือง ปลายเขาสีดำ ใต้ผิวหนังมีต่อมน้ำมันซึ่งน้ำมันมีกลิ่นฉุนเล็กน้อย
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข I (ประกาศใช้เมื่อ 1975-07-01)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข I