ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- กวางป่าเป็นสัตว์จำพวกกวางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่มีในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กวางป่าเพศผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย ขนของกวางป่าจะหยาบแข็ง และไม่ขึ้นถี่อย่างขนเก้ง ขนมีสีเทาน้ำตาลแกมเหลืองอ่อน สีไม่ฉูดฉาดอย่างสีขนกวางดาวและเก้ง ขนตามตัวยาวประมาณ 2 4 เซนติเมตร ขนรอบคอของกวางป่าเพศผู้ค่อนข้างยาว คือยาวประมาณ 7 10 เซนติเมตร ขนบริเวณท้องและก้นขึ้นห่างกว่าบริเวณอื่นและสีขนอ่อนกว่าบนหลัง หางเป็นพวงค่อนข้างสั้น มีแอ่งน้ำตาขนาดใหญ่ที่หัวตาข้างละแห่ง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พบการกระจายพันธุ์ในกลุ่มประเทศเอเชียใต้ เช่น อินเดีย เนปาล ศรีลังกา กลุ่มประเทศเอเชียตะวนออกเฉียงใต้ คือ เมียนมาร์ ไทย มาเลเซีย ลาว กัมพูชา เวียดนาม อินโดจีน และบริเวณจีนตอนใต้ สำหรับประเทศไทย พบตามป่าดงดิบทั่วไปทุกภาคทั้งป่าสูงและป่าต่ำ
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
สถานที่ชม :
- สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์นครราชสีมา,สวนสัตว์ขอนแก่น,สวนสัตว์สงขลา,สวนสัตว์อุบลราชธานี
การกระจายพันธุ์ :
- เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นบางส่วนของภาคตะวันนอกเฉียงเหนือและภาคกลาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นบางส่วนของภาคตะวันนอกเฉียงเหนือและภาคกลาง
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อื่นๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2015)
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ