ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
หมาหริ่งมีรูปร่างคล้ายเพียงพอนผสมกับหมูหริ่ง มีปลายปากและจมูกยาวเหมือนหมูหริ่ง และมีเล็บยาวเพื่อใช้ในการขุดดิน มีรูปร่างต่างจากหมูหริ่งที่มีขนาด และมีหูใหญ่กว่า และหางยาวกว่า ขาค่อนข้างสั้น และเท้ากว้าง อุ้งเท้าค่อนข้างยาว แสดงให้เห็นว่าหมาหริ่งสามารถปืนต้นไม้ได้ดี ขนล้าตัวของหมาหริ่งมีสีน้้าตาลปนเทา หรือ ด้า มีแถบสีขาวที่เหนือจมูกระหว่างตาทั้งสอง ใต้ปาก คาง คอและหลังตามีขนสีขาว นอกจากนี้ยังมีแถบขนสีขาวยาวพาดจากหัวไปยังกลางหลัง สีขนอาจเปลี่ยนแปลงไปได้ตามฤดูกาล เวลาที่ตกใจต่อมใกล้ทวารจะปล่อยสารที่มีกลิ่นเหม็นออกมา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อาศัยอยู่ในหลายสภาพพื้นที่ทั้งในป่า ทุ่งหญ้า และนาข้าว ในสิกขิมหมาหริ่งจะถูกนำเข้าไปไว้ในบ้านเพื่อก้าจัดแมลงสาบ และแมลงอื่นๆ
การแพร่กระจาย : เนปาล อัสัม พม่า ไทย และเวียดนาม
การแพร่กระจาย : เนปาล อัสัม พม่า ไทย และเวียดนาม
-
ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
พื้นที่สงวนชีวมณฑลสะแกราช
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |