ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้
-
เลย
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
น่าน
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นสาบฉุนมาก รูปร่างอ้วนกลมคล้ายหมู ขนตามตัวสีเหลืองเทาหรือดำ หน้ายาว ขนบริเวณหน้าสีขาว เป็นแถบที่แก้มและหน้าผาก จมูกยื่นยาวคล้ายจมูกหมู ตาแลหูมีขนาดเล็ก ขนยาว และหางค่อนข้างสั้น เท้าไม่เป็นกีบ เล็บมีสีซีดค่อนข้างยาวโค้งงอและแข็งแรงแต่ยืดหดไม่ได้ เพื่อใช้ในการขุดดิน ลำตัวมีขนสีน้ำตาลอมเหลืองหรือเทา ส่วนหัวมีลวดลายของแถบขนสีขาวสลับกับสีด้า โดยแถบขนสีดำพาดจากด้านข้างของจมูกผ่านตามายังหู ขนาบด้วยแถบขนสีขาวที่พาดจากหน้าผากมายังริมฝีปากบน และแถบขนสีขาวจากใต้ตามายังและใต้ปากมีแถบขนสีด้าพาดมายังผ่านแก้ม นท้องมีสีด้า หรือน้้าตาลเข้ม ขนที่คอ และปลายหูและหางมีสีขาว สีขนอาจเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล หรือขึ้นกับสัตว์แต่ละตัว บางตัวมีสีขนออกสีดำ ขณะที่บางตัวเป็นสีน้ำตาล นอกจากนี้ยังมีขนาดต่างกับไปตามสภาพภูมิประเทศ โดยพวกที่อาศัยทางตอนเหนือจะมีขนาดเล็กกว่า พวกที่อยู่ทางตอนใต้ในแถบอินโดจีน และไทย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบในเนปาล ภูฐาน อินเดีย จีน พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เกาะสุมาตรา สำหรับประเทศไทยพบทั่วไปทุกภาค
พบอาศัยอยู่ได้ในหลายสภาพพื้นที่ ทั้งในป่าสมบูรณ์ชายป่า หรือ ป่าเสื่อมโทรม รวมทั้งในสวนยาง
พบอาศัยอยู่ได้ในหลายสภาพพื้นที่ ทั้งในป่าสมบูรณ์ชายป่า หรือ ป่าเสื่อมโทรม รวมทั้งในสวนยาง
-
ป่าภูหลวง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์นครราชสีมา,สวนสัตว์อุบลราชธานี
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศเกษตร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมป่าไม้
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |