ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นกระรอกขนาดใหญ่ ขนด้านบนของลำตัวมีสีน้ำตาลไหม้ ด้านล่างถึงท้องมีสีอ่อนเป็นสีครีมหรือ สีส้ม หางเป็นพวงยาวใหญ่สีดำ มีหนวดสีดำยาวเห็นได้ชัด เล็บเท้าโค้งแหลมคมมาก ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบในเนปาล อัสสัม พม่า จีนตอนใต้ เกาะไหหลำ อินโดจีน มาเลเซีย สุมาตรา ชวา และบาหลี ประเทศไทยมีมากทางภาคใต้ แถวจังหวัดตรัง เกาะภูเก็ต สมุย เกาะพงัน กาญจนบุรี และจันทบุรี ทางภาคใต้เรียก "พะแมว"
-
Chiang Mai (Doi Suthep-Doi Pui, Doi Hua Mot, Doi Nangka,
Doi Nangkeo, Doi Inthanon, Doi Chiang Dao, Mae Taeng);
Lampang (Koon Tarn); Nan (Doi Phu Kha); Phrae (Mae Yom
Valley); Tak (Mae Taw, Umphang, Tee Lor Su);
Kamphangphet (Khlong Klung, Me Ping river, Wang Pratart);
Nakhon Sawan (Mae Wong); Uthai Thani (Huai Kha Kaeng);
Kanchanaburi (Sai Yok, Baw Ploy, Salak Phra); Ratchaburi
(Suan Phung); Chaiyaphum (Phu Khieo); Phisanulok (Thung
Salaeng Luang); Phetchabun (Nam Nao); Nakhon Ratchasima
(Khao Yai, Sakaerat); Ubon Ratchathani (Phibun Mangsahan,
Chong Mek); Saraburi (Hip Lap); Prachin Buri (Krabin Buri);
Chon Buri (Siracha, Nong Khor, Hup Bon); Chanthaburi
(Khao Sabab); Trat (Laem Ngop, Khlong Yai, Koh Kut);
Surat Thani (Koh Samut, Koh Pengan, Khlong Saeng);
Nakhon Si Thammarat (Chawang, Ban Ta-Phae); Trang
(Telibon, Lay Song Hong); Narathiwat (Pa Phru Toh Dang).
Doi Nangkeo, Doi Inthanon, Doi Chiang Dao, Mae Taeng);
Lampang (Koon Tarn); Nan (Doi Phu Kha); Phrae (Mae Yom
Valley); Tak (Mae Taw, Umphang, Tee Lor Su);
Kamphangphet (Khlong Klung, Me Ping river, Wang Pratart);
Nakhon Sawan (Mae Wong); Uthai Thani (Huai Kha Kaeng);
Kanchanaburi (Sai Yok, Baw Ploy, Salak Phra); Ratchaburi
(Suan Phung); Chaiyaphum (Phu Khieo); Phisanulok (Thung
Salaeng Luang); Phetchabun (Nam Nao); Nakhon Ratchasima
(Khao Yai, Sakaerat); Ubon Ratchathani (Phibun Mangsahan,
Chong Mek); Saraburi (Hip Lap); Prachin Buri (Krabin Buri);
Chon Buri (Siracha, Nong Khor, Hup Bon); Chanthaburi
(Khao Sabab); Trat (Laem Ngop, Khlong Yai, Koh Kut);
Surat Thani (Koh Samut, Koh Pengan, Khlong Saeng);
Nakhon Si Thammarat (Chawang, Ban Ta-Phae); Trang
(Telibon, Lay Song Hong); Narathiwat (Pa Phru Toh Dang).
-
หมู่เกาะอ่างทอง
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
พื้นที่สงวนชีวมณฑลสะแกราช
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์นครราชสีมา
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้
ระบบนิเวศ :
-
Evergreen forest.
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศป่าไม้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่,น่าน,แพร่,ตาก,กำแพงเพชร,นครสวรรค์,อุทัยธานี,กาญจนบุรี,ราชบุรี,ชัยภูมิ,พิษณุโลก,เพชรบูรณ์,อุบลราชธานี,สระบุรี,ปราจีนบุรี,ชลบุรี,ตราด,สุราษฎร์ธานี,นครศรีธรรมราช,ตรัง,นราธิวาส
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้
-
สุราษฏร์ธานี
-
พะเยา
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ช่วยในการกระจายพันธุ์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 1975-07-01)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข II
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |