ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- มีขนาดหัวและลำตัว 44-50 เซนติเมตร หางยาว 7 เซนติเมตร รูปร่างป้อม ลำตัวเป็นลายออกสีเทา สีน้ำตาลและสีน้ำตาลแดง ตะโพกสีเทา ลำตัวด้านล่างสีขาวนวล ยกเว้นอกเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาล ขาสีครีมจนถึงน้ำตาลแดง หางด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข็มหรือสีน้ำตาลตัดกับขาว ทางด้านล่าง หูยาวสีน้ำตาล ปลายหูมีสีเข็มกว่าอย่างชัดเจน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก, ป่าคำหัวแฮด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง, ป่าเขาผาลาด, ป่าหนองแปน, ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว
- ป่าภูหลวง
- ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- พื้นที่สงวนชีวมณฑลสะแกราช
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
การกระจายพันธุ์ :
- ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- เลย
- มุกดาหาร
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ระบบนิเวศ :
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ