ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- Epiphytic or lithophytic fern.
- ลักษณะเป็นกอขนาดใหญ่ ใบสร้างสปอร์มีลักษณะต่างกับใบไม่สร้างสปอร์
- เส้นใบร่างแห ใบไม่สร้างสปอร์มีขนาดใหญ่กว่ากระแตไต่ไม้ใบเล็กและมีขอบใบหยักลึก เรียงซ้อนกันแน่น มีกลุ่มอับสปอร์เปลือยไม่มีอินดิวเซียม
- ไม้จำพวกเฟิร์น อาศัยเกาะอยู่บนต้นไม้อื่นๆ คล้ายกล้วยไม้ ใบโตเว้าเป็นแฉกๆ คล้ายใบสาเกก้านแข็ง ที่หัวเป็นขนสีน้ำตาลแก่หุ้มคล้ายกำมะหยี่เป็นหัวกลมยาว เนื้อในสีขาวและเขียว ขนอ่อนนุ่มเกิดตามต้นไม้ที่ผุ ๆ ทั่วไป
ระบบนิเวศ :
- On rather dry rocks on hillsides in light shade or at
edge of forests, fairly common at low altitudes.
การกระจายพันธุ์ :
- Sri Lanka, India to S China and Indochina,
Malesia throughout to Fiji and tropical Australia.
- นิเวศวิทยาของกระแตไต่ไม้ จัดเป็นเฟิร์นชนิดหนึ่งซึ่งขึ้นตามพื้นดิน ตามรอยแตกของหิน รวมถึงบนต้นไม้ พบในป่าเปิด ป่าฝน และป่าดิบแล้ง มีต้นกำเนิดในเขตร้อนของแอฟริกา, เอเชีย, ออสเตรเลีย, โอเชียเนีย, ออสเตรเลียตะวันตก เช่นเดียวกับอินเดีย, นิวกินี, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ จีน เวียดนาม ไทย และไต้หวัน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ChiangMai,ChiangRai,Tak,Phitsanulok,NongKhai,Kanchanaburi,PrachuapKhiriKhan,ChonBuri,Chanthaburi,Trat,Phangnga,SuratThani,Krabi,NakhonSiThammarat,Phuket,
Phatthalung,Trang,Satun,Yala
- เชียงใหม่, พะเยา, กาญจนบุรี, พระนครศรีอยุธยา, นครปฐม, หนองคาย
- สุราษฎร์ธานี
- มุกดาหาร
- สุราษฎร์ธานี
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- หมู่เกาะอ่างทอง
- ภูผาเทิบ, หลังทำการอุทยานฯ และผาหินใกล้ลานมุจรินทร์
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เฟิร์นเกาะหิน
- เฟิร์นเกาะหิน
ที่มาของข้อมูล