ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มขนาดเล็ก ทุกส่วนมียางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเป็นคู่สลับตั้งฉาก รูปรีแกมขอบขนานหรือไข่กลับ ขนาดกว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ปลายใบมน หรือเป็นติ่งหนาม โคนใบมน ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ด้านล่างมักมีสีนวลกว่าด้านบน ก้านใบสั้นมากหรืออาจไม่มี ดอกสีขาวนวล ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีขนนุ่มปกคลุม ก้านช่อดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ขนาดกว้าง 0.4-0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. มีขนทั้งสองด้าน เกสรผู้ 5 อัน ติดอยู่ใกล้โคนหลอดดอก ผลรูปยาว เป็นฝักคู่ แห้งแล้วแตก กว้าง 0.5-0.6 ซม. ยาว 22-28 ซม.
- ไม้พุ่มขนาดเล็ก ทุกส่วนมียางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเป็นคู่สลับตั้งฉาก รูปรีแกมขอบขนานหรือไข่กลับ ขนาดกว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ปลายใบมน หรือเป็นติ่งหนาม โคนใบมน ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ด้านล่างมักมีสีนวลกว่าด้านบน ก้านใบสั้นมากหรืออาจไม่มี ดอกสีขาวนวล ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีขนนุ่มปกคลุม ก้านช่อดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ขนาดกว้าง 0.4-0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. มีขนทั้งสองด้าน เกสรผู้ 5 อัน ติดอยู่ใกล้โคนหลอดดอก ผลรูปยาว เป็นฝักคู่ แห้งแล้วแตก กว้าง 0.5-0.6 ซม. ยาว 22-28 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบตั้งแต่เวียดนาม ลาว กัมพูชา ไทย จนถึงมาเลเซีย ตามที่โล่งแจ้งค่อนข้างชื้น ออกดอกติดผลตลอดปี
- พบตั้งแต่เวียดนาม ลาว กัมพูชา ไทย จนถึงมาเลเซีย ตามที่โล่งแจ้งค่อนข้างชื้น ออกดอกติดผลตลอดปี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
- ผาแต้ม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่ม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุบลราชธานี
- กระบี่, ตรัง
- ราชบุรี
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ตาก
- หนองคาย
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,เปลือกและรากใช้แก้อาการท้องร่วง