ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-30 เมตร ผลัดใบลำต้นตรง กิ่งอ่อนเกลี้ยง เรือนยอดเป็นพุ่มแคบๆ เปลือกหนาสีน้ำตาลหรือเทา เป็นสะเก็ดหนาและแตกเป็นร่องตามยาว ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปขอบขนานแคบๆ กว้าง 3.5-4 ซม. ยาว 8-10 ซม. โคนใบมน ปลายใบมนหรือหยัก ขอบใบมักเป็นคลื่น เนื้อใบเกลี้ยงเป็นมัน มีเส้นแขนงใบ 15-20 คู่ ก้านใบยาว 2-2.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อใหญ่ตามปลายกิ่ง หรือเหนือรอยแผลใบ สีขาว กลิ่นหอมจัด กลีบรองกลีบดอกเกลี้ยง สีขุ่นมี 5 กลีบ เรียงบิดเวียน เกสรผู้มี 15 อัน รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีไข่อ่อน 2 ผล ก้านดอกยาว 1.5 ซม. ผล รูปกระสวย กว้างประมาณ 1 ซม. ยาว 2 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก ยาวประมาณ 2 ซม. ปีกยาว 3 ปีก ยาวประมาณ 8 ซม. มีเส้นปีกปีกละ 10 เส้น
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-30 เมตร ผลัดใบลำต้นตรง กิ่งอ่อนเกลี้ยง เรือนยอดเป็นพุ่มแคบๆ เปลือกหนาสีน้ำตาลหรือเทา เป็นสะเก็ดหนาและแตกเป็นร่องตามยาว ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปขอบขนานแคบๆ กว้าง 3.5-4 ซม. ยาว 8-10 ซม. โคนใบมน ปลายใบมนหรือหยัก ขอบใบมักเป็นคลื่น เนื้อใบเกลี้ยงเป็นมัน มีเส้นแขนงใบ 15-20 คู่ ก้านใบยาว 2-2.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อใหญ่ตามปลายกิ่ง หรือเหนือรอยแผลใบ สีขาว กลิ่นหอมจัด กลีบรองกลีบดอกเกลี้ยง สีขุ่นมี 5 กลีบ เรียงบิดเวียน เกสรผู้มี 15 อัน รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีไข่อ่อน 2 ผล ก้านดอกยาว 1.5 ซม. ผล รูปกระสวย กว้างประมาณ 1 ซม. ยาว 2 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก ยาวประมาณ 2 ซม. ปีกยาว 3 ปีก ยาวประมาณ 8 ซม. มีเส้นปีกปีกละ 10 เส้น
การกระจายพันธุ์ :
- ขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้ง และป่าดิบแล้งทั่วไปในภาคเหนือที่ระดับความสูง 100-1000 เมตร
- ขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้ง และป่าดิบแล้งทั่วไปในภาคเหนือที่ระดับความสูง 100-1000 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ผาแต้ม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- พิษณุโลก
- นครราชสีมา
- อุตรดิตถ์
- เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- เชียงราย
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- พังงา
- พังงา
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ตาก
- ชัยภูมิ
- แม่ฮ่องสอน
- สตูล
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ตาก
- ชัยภูมิ
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- เลย
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- มุกดาหาร
- ชัยภูมิ
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- สุโขทัย
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- จันทบุรี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- เชียงใหม่
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- สุโขทัย, ลำปาง
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- กาฬสินธุ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- - ต้นพะยอม : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นสูง 15–30 เมตร และมีเนื้อไม้แข็ง สีเหลืองอ่อนแกมสีเขียว
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว แผ่นใบรูปมนรี เรียงสลับ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบbท้องใบเป็นเส้นแขนงใบนูนมองเห็นชัด
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ สีเหลืองอ่อนและมีกลิ่นหอมbออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
- ผล : เป็นรูปรี กลีบเลี้ยงเจริญไปเป็นปีกคล้ายผลยาง
- - ต้นพะยอม : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นสูง 15–30 เมตร และมีเนื้อไม้แข็ง สีเหลืองอ่อนแกมสีเขียว
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว แผ่นใบรูปมนรี เรียงสลับ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบbท้องใบเป็นเส้นแขนงใบนูนมองเห็นชัด
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ สีเหลืองอ่อนและมีกลิ่นหอมbออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
- ผล : เป็นรูปรี กลีบเลี้ยงเจริญไปเป็นปีกคล้ายผลยาง
- - ต้นพะยอม : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นสูง 15–30 เมตร และมีเนื้อไม้แข็ง สีเหลืองอ่อนแกมสีเขียว
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว แผ่นใบรูปมนรี เรียงสลับ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบbท้องใบเป็นเส้นแขนงใบนูนมองเห็นชัด
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ สีเหลืองอ่อนและมีกลิ่นหอมbออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
- ผล : เป็นรูปรี กลีบเลี้ยงเจริญไปเป็นปีกคล้ายผลยาง
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ที่อยู่อาศัย
ที่มาของข้อมูล