ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 8 เมตร ใบ เป็นใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อยรูปไข่ถึงรูปไข่กลับ กว้าง 2-8 ซม. ยาว 9-30 ซม. ปลายใบแหลมทู่ โคนใบสอบ ผิวใบเกลี้ยง มีหูใบ แผ่เป็นแผ่น รูปเกือบกลม ขนาดกว้าง 2-3.5 ซม. เรียงเวียน ซ้อนกันบริเวณโคนก้านใบใกล้ปลายยอด ดอก สีขาวครีม ออกเป็น ช่อห้อย ยาวถึง 75 ซม. แยกเพศ ดอกบานกว้าง 5-7 มม. กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปเกือบกลม กลีบดอก 4 กลีบ เกสรผู้ 5-8 อัน รังไข่มี 2 ช่อง ผล รูปไข่ถึงรูปรีป้อม สีม่วงดำถึงออกแดง ผิวเกลี้ยงมักมี 2 เมล็ด
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 15 ม. กิ่งบางครั้งมีช่องอากาศ หูใบเทียมคล้ายใบติดเป็นคู่ที่โคนก้านใบ รูปรีกว้างหรือกลม ยาว 2–4 ซม. มีก้านสั้น ๆ ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ใบย่อยมี 5–7 คู่ เรียงสลับหรือตรงข้าม รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 9–40 ซม. ใบปลายส่วนมากลดรูป ก้านใบยาว 3–5 มม. ช่อดอกออกตามกิ่งหรือซอกใบ ยาวได้ถึง 75 ซม. ก้านดอกยาวได้ถึงประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 2–4 มม. ดอกสีม่วงอมแดงหรือขาว มี 4 กลีบ รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 1.5–3 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้มี 5–8 อัน ก้านชูอับเรณูสั้นมาก ผลรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1–3 ซม. สุกสีม่วงดำ มี 2 เมล็ด ยาว 1–2 ซม. มีขั้ว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะหวด, สกุล)
-
ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 8 เมตร ใบ เป็นใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อยรูปไข่ถึงรูปไข่กลับ กว้าง 2-8 ซม. ยาว 9-30 ซม. ปลายใบแหลมทู่ โคนใบสอบ ผิวใบเกลี้ยง มีหูใบ แผ่เป็นแผ่น รูปเกือบกลม ขนาดกว้าง 2-3.5 ซม. เรียงเวียน ซ้อนกันบริเวณโคนก้านใบใกล้ปลายยอด ดอก สีขาวครีม ออกเป็น ช่อห้อย ยาวถึง 75 ซม. แยกเพศ ดอกบานกว้าง 5-7 มม. กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปเกือบกลม กลีบดอก 4 กลีบ เกสรผู้ 5-8 อัน รังไข่มี 2 ช่อง ผล รูปไข่ถึงรูปรีป้อม สีม่วงดำถึงออกแดง ผิวเกลี้ยงมักมี 2 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบมากในภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ตามแนวชายป่าหรือริมลำธาร ที่ระดับ ความสูงถึง 1,000 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-ธันวาคม
-
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบมากในภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ตามแนวชายป่าหรือริมลำธาร ที่ระดับ ความสูงถึง 1,000 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-ธันวาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ชำมะเลียง หรือ พุมเรียง ภาคเหนือเรียกผักเต้า มะเถ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกมะเกียง หวดข้าใหญ่ จังหวัดตราดเรียกโคมเรียง เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วประเทศไทยและเป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียวยาว มีสีเขียวตลอดทั้งปี ดอกออกเป็นช่อที่กิ่งและต้น ดอกสีม่วง ติดผลช่วงกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
-
ชำมะเลียง หรือ พุมเรียง ภาคเหนือเรียกผักเต้า มะเถ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกมะเกียง หวดข้าใหญ่ จังหวัดตราดเรียกโคมเรียง เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วประเทศไทยและเป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียวยาว มีสีเขียวตลอดทั้งปี ดอกออกเป็นช่อที่กิ่งและต้น ดอกสีม่วง ติดผลช่วงกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
-
ชำมะเลียง หรือ พุมเรียง ภาคเหนือเรียกผักเต้า มะเถ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกมะเกียง หวดข้าใหญ่ จังหวัดตราดเรียกโคมเรียง เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วประเทศไทยและเป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียวยาว มีสีเขียวตลอดทั้งปี ดอกออกเป็นช่อที่กิ่งและต้น ดอกสีม่วง ติดผลช่วงกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
-
ชำมะเลียง หรือ พุมเรียง ภาคเหนือเรียกผักเต้า มะเถ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกมะเกียง หวดข้าใหญ่ จังหวัดตราดเรียกโคมเรียง เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วประเทศไทยและเป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียวยาว มีสีเขียวตลอดทั้งปี ดอกออกเป็นช่อที่กิ่งและต้น ดอกสีม่วง ติดผลช่วงกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
-
ชำมะเลียง หรือ พุมเรียง ภาคเหนือเรียกผักเต้า มะเถ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกมะเกียง หวดข้าใหญ่ จังหวัดตราดเรียกโคมเรียง เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วประเทศไทยและเป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียวยาว มีสีเขียวตลอดทั้งปี ดอกออกเป็นช่อที่กิ่งและต้น ดอกสีม่วง ติดผลช่วงกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
2. การปักชำ
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
2. การปักชำ
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
2. การปักชำ
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
2. การปักชำ
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
2. การปักชำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พัทลุง
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
จันทบุรี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
ราชบุรี
-
ชุมพร
-
ชุมพร
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ผลสุกรับประทานได้มีรสหวาน สีม่วงจากผลใช้ผสมอาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)