ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง ๕ - ๒๕ เมตร เปลือกชั้นนอกสีขาวนวล เป็นแผ่นบาง ๆ เรียงซ้อนกันเป็นปึกหนานุ่ม เปลือกชั้นในบาง สีน้ำตาล ยอดอ่อน กิ่งอ่อน และใบอ่อน มีขนสีขาวเป็นมันคล้ายเส้นไหม ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปหอก กว้าง ๑.๕ - ๔ ซม. ยาว ๕ - ๑๐ ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม ดอก ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง สีขาว กลีบเลี้ยงยาว ๐.๓ ซม. โคนกลีบติดกัน กลีบดอกยาว ๐.๒ - ๐.๓ ซม. รูปช้อนแกมรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้จำนวนมากยาวพ้นกลีบดอกเป็นพู่ ผล เป็นผลแห้งแตก รูปถ้วย กว้างและยาวประมาณ ๐.๔ ซม.
-
ไม้ต้น สูง ๕ - ๒๕ เมตร เปลือกชั้นนอกสีขาวนวล เป็นแผ่นบาง ๆ เรียงซ้อนกันเป็นปึกหนานุ่ม เปลือกชั้นในบาง สีน้ำตาล ยอดอ่อน กิ่งอ่อน และใบอ่อน มีขนสีขาวเป็นมันคล้ายเส้นไหม ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปหอก กว้าง ๑.๕ - ๔ ซม. ยาว ๕ - ๑๐ ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม ดอก ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง สีขาว กลีบเลี้ยงยาว ๐.๓ ซม. โคนกลีบติดกัน กลีบดอกยาว ๐.๒ - ๐.๓ ซม. รูปช้อนแกมรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้จำนวนมากยาวพ้นกลีบดอกเป็นพู่ ผล เป็นผลแห้งแตก รูปถ้วย กว้างและยาวประมาณ ๐.๔ ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทั่วไปตามชายทะเล ในที่ลุ่มน้ำขัง ตามขอบของป่าพรุที่ถูกไฟเผาผลาญทำลายจนโล่งเตียน ประเทศไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ในต่างประเทศพบที่พม่า มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
-
พบทั่วไปตามชายทะเล ในที่ลุ่มน้ำขัง ตามขอบของป่าพรุที่ถูกไฟเผาผลาญทำลายจนโล่งเตียน ประเทศไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ในต่างประเทศพบที่พม่า มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พัทลุง, นครศรีธรรมราช
-
สงขลา, พัทลุง
-
พัทลุง, สงขลา
-
พังงา
-
ระยอง
-
ชุมพร
-
นราธิวาส
-
นราธิวาส
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลสาบสงขลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)