ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
ใบ - ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ มักออกเป็นกลุ่มหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ลักษณะของใบเป็นรูปรี รูปรีแกมขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ หรือค่อนข้างกลม ปลายใบมนหรือเรียวแหลม โคนใบมนหรือสอบเป็นครีบ ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 5-9 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8-15 เซนติเมตร เนื้อใบค่อนข้างหนา หลังใบเกลี้ยง สีเขียวเข้มเป็นมัน ท้องใบมีขน มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ตามก้านใบมีขน ก้านใบยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร
ดอก - ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่คนละต้น ออกดอกเป็นช่อแบบซี่ร่ม โดยจะออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นสีเหลือง ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้มีดอกย่อยประมาณ 8-10 ดอก กลีบรวมลดรูปเหลือ 1-2 กลีบ หรือไม่มีเลย ลักษณะเป็นรูปขอบขนาน ขอบกลีบมีขน ดอกมีเกสรเพศผู้ประมาณ 9-20 อัน เรียงเป็นชั้นๆ ก้านเกสรมีขน ชั้นในมีต่อมกลมๆ อับเรณูเป็นรูปรี มี 4 ช่อง เกสรเพศเมียเป็นหมันอยู่ตรงกลาง อับเรณูเป็นแบบฝาเปิด กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ ลักษณะของกลีบเลี้ยงเป็นรูปกลม ส่วนช่อดอกเพศเมียกลีบรวมลดรูปเหลือเพียงเล็กน้อยหรือไม่มี ก้านช่อดอกยาวประมาณ 2-6 เซนติเมตร เกสรเพศผู้เป็นหมัน ลักษณะเป็นรูปช้อน ส่วนเกสรเพศเมียไม่มีขน รังไข่เป็นรูปไข่ ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ปลายเกสรเพศเมียเป็นรูปจาน มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ แยกจากกัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนตุลาคม
ผล - มีกลิ่นเหม็น ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดประมาณ 5-7 มิลลิเมตร ผิวผลเรียบเป็นมัน ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนสีม่วงเข้มเกือบดำ ก้านผลมีขน ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดแข็ง ช่อหนึ่งมีผลประมาณ 3-5 ผล
ดอก - ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่คนละต้น ออกดอกเป็นช่อแบบซี่ร่ม โดยจะออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นสีเหลือง ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้มีดอกย่อยประมาณ 8-10 ดอก กลีบรวมลดรูปเหลือ 1-2 กลีบ หรือไม่มีเลย ลักษณะเป็นรูปขอบขนาน ขอบกลีบมีขน ดอกมีเกสรเพศผู้ประมาณ 9-20 อัน เรียงเป็นชั้นๆ ก้านเกสรมีขน ชั้นในมีต่อมกลมๆ อับเรณูเป็นรูปรี มี 4 ช่อง เกสรเพศเมียเป็นหมันอยู่ตรงกลาง อับเรณูเป็นแบบฝาเปิด กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ ลักษณะของกลีบเลี้ยงเป็นรูปกลม ส่วนช่อดอกเพศเมียกลีบรวมลดรูปเหลือเพียงเล็กน้อยหรือไม่มี ก้านช่อดอกยาวประมาณ 2-6 เซนติเมตร เกสรเพศผู้เป็นหมัน ลักษณะเป็นรูปช้อน ส่วนเกสรเพศเมียไม่มีขน รังไข่เป็นรูปไข่ ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ปลายเกสรเพศเมียเป็นรูปจาน มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ แยกจากกัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนตุลาคม
ผล - มีกลิ่นเหม็น ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดประมาณ 5-7 มิลลิเมตร ผิวผลเรียบเป็นมัน ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนสีม่วงเข้มเกือบดำ ก้านผลมีขน ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดแข็ง ช่อหนึ่งมีผลประมาณ 3-5 ผล
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้น ลำต้น: สูง 5-15 ม. ใบ: เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปวงรีแกมขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ กว้าง 7.7-10 ซม. ยาว 14.8-22 ซม. ผิวใบด้านล่างมีขน ดอก: เป็นช่อออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ไม่มีกลีบดอก เกสรตัวผู้มีจำนวนมาก สีเหลืองอ่อนปนเขียว ดอกแยกเพศอยู่คนละต้น ดอกย่อยมี 7-9 ดอก ต่อช่อ ผล: รูปทรงกลมเมื่อสุกสีม่วงเข้ม มี 3-5 ผล ต่อช่อ ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด
-
จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นผลัดใบ มีความสูงได้ประมาณ 5-15 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกลมทึบ เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาล ลำต้นแก่แตกเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนละเอียด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
นครศรีธรรมราช
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
สระบุรี
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
สุรินทร์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ,ใบขยี้กับน้ำสระผม ฆ่าเหา
-
ตำรายาไทยจะใช้รากต้นหมี่เป็นยาบำรุงกำลัง รากใช้เป็นยาแก้ไข้ออกฝีเครือ เปลือกสดใช้อมแก้ปวดฟัน แก้ปากเหม็น ช่วยแก้ลมเป็นก้อนในท้อง รากใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้อาการท้องอืด ท้องร่วง เปลือกต้นมีรสฝาดเฝื่อน ใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้บิด แก้ท้องเสีย ใบมีสรรพคุณเป็นยาปัสสาวะ ช่วยแก้ริดสีดวงแตก เปลือกต้นใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดมดลูกของสตรี ช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช