ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสันสี่เหลี่ยมและมีขนละเอียด มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยพบได้ตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ เนปาล ภูฎาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ใบเป็นเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบเป็นรูปลิ่มกว้าง แผ่ออกคล้ายรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 10-15 เซนติเมตรและยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบนเกลี้ยง ส่วนท้องใบด้านล่างมีนวลและมีขนสั้นนุ่ม ใบมีเส้นแขนงใบประมาณ 3-5 คู่ ออกจากโคน 1 คู่ ก้านใบยาวประมาณ 3-10 เซนติเมตร เป็นร่องด้านบน ออกดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ โดยจะออกตามปลายกิ่ง มี 1 ช่อหรือหลายช่อ ยาวประมาณ 7-15 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกมีใบประดับหลุดร่วงได้ง่าย กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ลักษณะเป็นรูประฆังยาวประมาณ 0.3-0.4 เซนติเมตร ปลายกลีบเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ด้านนอกกลีบเลี้ยงมีขนติดทน ส่วนกลีบดอกสมมาตรด้านข้าง ลักษณะเป็นรูปปากแตรโป่งด้านเดียว ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ แบ่งเป็นกลีบบน 2 กลีบ และกลีบล่างอีก 3 กลีบมีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนด้านในหลอดกลีบเป็นสีครีมอ่อน ๆ กลีบปากล่าง กลีบกลางด้านในเป็นสีเหลืองแซม มีขนสั้นนุ่มอยู่ด้านนอก ส่วนด้านในเกลี้ยง ดอกมีเกสรเพศผู้สั้น 2 ก้านและยาว 2 ก้านยื่นไม่พ้นปากหลอดกลีบดอก ก้านเกสรเพศผู้ติดบนหลอดกลีบดอกตรงประมาณกึ่งกลาง รังไข่เกลี้ยง มีต่อม ส่วนยอดเกสรเพศเมียมีแฉก 2 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปวงรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ผิวผลเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลเป็นแบบเมล็ดเดียวและแข็ง บ้างว่ามีเมล็ด 2 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปรี มีขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร โดยจะติดผลในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสันสี่เหลี่ยมและมีขนละเอียด มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยพบได้ตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ เนปาล ภูฎาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ใบเป็นเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบเป็นรูปลิ่มกว้าง แผ่ออกคล้ายรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 10-15 เซนติเมตรและยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบนเกลี้ยง ส่วนท้องใบด้านล่างมีนวลและมีขนสั้นนุ่ม ใบมีเส้นแขนงใบประมาณ 3-5 คู่ ออกจากโคน 1 คู่ ก้านใบยาวประมาณ 3-10 เซนติเมตร เป็นร่องด้านบน ออกดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ โดยจะออกตามปลายกิ่ง มี 1 ช่อหรือหลายช่อ ยาวประมาณ 7-15 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกมีใบประดับหลุดร่วงได้ง่าย กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ลักษณะเป็นรูประฆังยาวประมาณ 0.3-0.4 เซนติเมตร ปลายกลีบเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ด้านนอกกลีบเลี้ยงมีขนติดทน ส่วนกลีบดอกสมมาตรด้านข้าง ลักษณะเป็นรูปปากแตรโป่งด้านเดียว ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ แบ่งเป็นกลีบบน 2 กลีบ และกลีบล่างอีก 3 กลีบมีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนด้านในหลอดกลีบเป็นสีครีมอ่อน ๆ กลีบปากล่าง กลีบกลางด้านในเป็นสีเหลืองแซม มีขนสั้นนุ่มอยู่ด้านนอก ส่วนด้านในเกลี้ยง ดอกมีเกสรเพศผู้สั้น 2 ก้านและยาว 2 ก้านยื่นไม่พ้นปากหลอดกลีบดอก ก้านเกสรเพศผู้ติดบนหลอดกลีบดอกตรงประมาณกึ่งกลาง รังไข่เกลี้ยง มีต่อม ส่วนยอดเกสรเพศเมียมีแฉก 2 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปวงรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ผิวผลเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลเป็นแบบเมล็ดเดียวและแข็ง บ้างว่ามีเมล็ด 2 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปรี มีขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร โดยจะติดผลในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสันสี่เหลี่ยมและมีขนละเอียด มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยพบได้ตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ เนปาล ภูฎาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ใบเป็นเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบเป็นรูปลิ่มกว้าง แผ่ออกคล้ายรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 10-15 เซนติเมตรและยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบนเกลี้ยง ส่วนท้องใบด้านล่างมีนวลและมีขนสั้นนุ่ม ใบมีเส้นแขนงใบประมาณ 3-5 คู่ ออกจากโคน 1 คู่ ก้านใบยาวประมาณ 3-10 เซนติเมตร เป็นร่องด้านบน ออกดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ โดยจะออกตามปลายกิ่ง มี 1 ช่อหรือหลายช่อ ยาวประมาณ 7-15 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกมีใบประดับหลุดร่วงได้ง่าย กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ลักษณะเป็นรูประฆังยาวประมาณ 0.3-0.4 เซนติเมตร ปลายกลีบเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ด้านนอกกลีบเลี้ยงมีขนติดทน ส่วนกลีบดอกสมมาตรด้านข้าง ลักษณะเป็นรูปปากแตรโป่งด้านเดียว ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ แบ่งเป็นกลีบบน 2 กลีบ และกลีบล่างอีก 3 กลีบมีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนด้านในหลอดกลีบเป็นสีครีมอ่อน ๆ กลีบปากล่าง กลีบกลางด้านในเป็นสีเหลืองแซม มีขนสั้นนุ่มอยู่ด้านนอก ส่วนด้านในเกลี้ยง ดอกมีเกสรเพศผู้สั้น 2 ก้านและยาว 2 ก้านยื่นไม่พ้นปากหลอดกลีบดอก ก้านเกสรเพศผู้ติดบนหลอดกลีบดอกตรงประมาณกึ่งกลาง รังไข่เกลี้ยง มีต่อม ส่วนยอดเกสรเพศเมียมีแฉก 2 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปวงรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ผิวผลเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลเป็นแบบเมล็ดเดียวและแข็ง บ้างว่ามีเมล็ด 2 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปรี มีขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร โดยจะติดผลในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสันสี่เหลี่ยมและมีขนละเอียด มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยพบได้ตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ เนปาล ภูฎาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ใบเป็นเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบเป็นรูปลิ่มกว้าง แผ่ออกคล้ายรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 10-15 เซนติเมตรและยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบนเกลี้ยง ส่วนท้องใบด้านล่างมีนวลและมีขนสั้นนุ่ม ใบมีเส้นแขนงใบประมาณ 3-5 คู่ ออกจากโคน 1 คู่ ก้านใบยาวประมาณ 3-10 เซนติเมตร เป็นร่องด้านบน ออกดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ โดยจะออกตามปลายกิ่ง มี 1 ช่อหรือหลายช่อ ยาวประมาณ 7-15 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกมีใบประดับหลุดร่วงได้ง่าย กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ลักษณะเป็นรูประฆังยาวประมาณ 0.3-0.4 เซนติเมตร ปลายกลีบเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ด้านนอกกลีบเลี้ยงมีขนติดทน ส่วนกลีบดอกสมมาตรด้านข้าง ลักษณะเป็นรูปปากแตรโป่งด้านเดียว ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ แบ่งเป็นกลีบบน 2 กลีบ และกลีบล่างอีก 3 กลีบมีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนด้านในหลอดกลีบเป็นสีครีมอ่อน ๆ กลีบปากล่าง กลีบกลางด้านในเป็นสีเหลืองแซม มีขนสั้นนุ่มอยู่ด้านนอก ส่วนด้านในเกลี้ยง ดอกมีเกสรเพศผู้สั้น 2 ก้านและยาว 2 ก้านยื่นไม่พ้นปากหลอดกลีบดอก ก้านเกสรเพศผู้ติดบนหลอดกลีบดอกตรงประมาณกึ่งกลาง รังไข่เกลี้ยง มีต่อม ส่วนยอดเกสรเพศเมียมีแฉก 2 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปวงรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ผิวผลเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลเป็นแบบเมล็ดเดียวและแข็ง บ้างว่ามีเมล็ด 2 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปรี มีขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร โดยจะติดผลในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เมตร กิ่งอ่อนเป็นสันสี่เหลี่ยมและมีขนละเอียด มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยพบได้ตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ เนปาล ภูฎาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,500 เมตร ใบเป็นเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบเป็นรูปลิ่มกว้าง แผ่ออกคล้ายรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 10-15 เซนติเมตรและยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบนเกลี้ยง ส่วนท้องใบด้านล่างมีนวลและมีขนสั้นนุ่ม ใบมีเส้นแขนงใบประมาณ 3-5 คู่ ออกจากโคน 1 คู่ ก้านใบยาวประมาณ 3-10 เซนติเมตร เป็นร่องด้านบน ออกดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ โดยจะออกตามปลายกิ่ง มี 1 ช่อหรือหลายช่อ ยาวประมาณ 7-15 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกมีใบประดับหลุดร่วงได้ง่าย กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ลักษณะเป็นรูประฆังยาวประมาณ 0.3-0.4 เซนติเมตร ปลายกลีบเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ด้านนอกกลีบเลี้ยงมีขนติดทน ส่วนกลีบดอกสมมาตรด้านข้าง ลักษณะเป็นรูปปากแตรโป่งด้านเดียว ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ แบ่งเป็นกลีบบน 2 กลีบ และกลีบล่างอีก 3 กลีบมีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนด้านในหลอดกลีบเป็นสีครีมอ่อน ๆ กลีบปากล่าง กลีบกลางด้านในเป็นสีเหลืองแซม มีขนสั้นนุ่มอยู่ด้านนอก ส่วนด้านในเกลี้ยง ดอกมีเกสรเพศผู้สั้น 2 ก้านและยาว 2 ก้านยื่นไม่พ้นปากหลอดกลีบดอก ก้านเกสรเพศผู้ติดบนหลอดกลีบดอกตรงประมาณกึ่งกลาง รังไข่เกลี้ยง มีต่อม ส่วนยอดเกสรเพศเมียมีแฉก 2 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปวงรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ผิวผลเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลเป็นแบบเมล็ดเดียวและแข็ง บ้างว่ามีเมล็ด 2 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปรี มีขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร โดยจะติดผลในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบรูปไข่กว้าง ยาว 7-25 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีนวลและขนสั้นนุ่ม เส้นใบออกจากโคนข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาว 3-10 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาว 7-20 ซม. ช่อกระจุกย่อยมี 1-3 ดอก ใบประดับรูปแถบ ยาว 7-8 มม. กลีบเลี้ยงยาว 3-5 มม. ปลายจักรูปสามเหลี่ยม 5 จักตื้น ๆ ด้านนอกมีขน ดอกยาว 2-4 ซม. ด้านนอกสีน้ำตาลแดง ด้านในสีครีมอ่อน กลีบปากล่างกลีบกลางด้านในมีสีเหลืองแซม มีขนสั้นนุ่มด้านนอก เกสรเพศผู้ยื่นไม่พ้นปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูติดใต้กึ่งกลางหลอดกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง มีต่อมกระจาย ผลสุกสีเหลือง รูปไข่ ยาว 1.5-2.5 ซม.
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง15-30 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยมกว้าง 10-15 ซม. ยาว 20-25 ซม.มีต่อม1คู่ที่โคนใบ ดอก สีเหลืองแกมน้ำตาลเข้ม ออกเป็นช่อตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนเป็นรูปกรวย กลีบดอก 5 กลีบ รูปปากเปิด เกสรตัวผู้ 4 อัน สั้น 1 คู่ ยาว1คู่ รังไข่รูปกลมรี ผล เมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมแกมรี กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 2.5-3.5 ซม. เมื่อสุกสีเหลือง ผิวเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น เมล็ดรูปรี กว้าง 1ซม. ยาว 1.5 ซม.
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง15-30 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยมกว้าง 10-15 ซม. ยาว 20-25 ซม.มีต่อม1คู่ที่โคนใบ ดอก สีเหลืองแกมน้ำตาลเข้ม ออกเป็นช่อตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนเป็นรูปกรวย กลีบดอก 5 กลีบ รูปปากเปิด เกสรตัวผู้ 4 อัน สั้น 1 คู่ ยาว1คู่ รังไข่รูปกลมรี ผล เมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมแกมรี กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 2.5-3.5 ซม. เมื่อสุกสีเหลือง ผิวเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น เมล็ดรูปรี กว้าง 1ซม. ยาว 1.5 ซม.
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง หรือป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,500 เมตร ออกดอกเดือน ธ.ค.-เม.ย. ติดผลเดือน มี.ค.-พ.ค.
-
พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง หรือป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,500 เมตร ออกดอกเดือน ธ.ค.-เม.ย. ติดผลเดือน มี.ค.-พ.ค.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
กาญจนบุรี
-
ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
เลย
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
กระบี่, ตรัง
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
บึงกาฬ
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เนื้อไม้ใช้ทำด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ทางการเกษตร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช