ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 4-12 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงชิดกันเป็นระนาบดูคล้ายใบประกอบ รูปขอบขนานกว้าง 2.5-5 มม. ยาว 8-12 มม. ดอก สีขาวหรือสีครีม ขนาดเล็กแยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกตามง่ามใบ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยง 6กลีบ ไม่มีกลีบดอก ผล กลมขนาด 1.2-2 ซม. เมล็ดมี 6 เมล็ด
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นผลัดใบ ขนาดเล็ก สูง 8-15 เมตร เรื่อนยอดโปร่ง ลำต้นคดงอใบ:ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับในระนาบเดียวกัน ลักษณะคล้ายใบแบบขนนก รูปขอบขนาน กว้าง 1- 5 มิลลิเมตร ยาว 4-15 มิลลิเมตร ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบมนหรือเว้าเข้า ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ใบอ่อนมีขนละเอียดมักจะมีแต้มสีแดง ใบแก่ไม่มีขน ก้านใบยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร มีหูใบเล็กดอก:ดอกเล็กสีเขียวอ่อนหรือเหลืองออกครีม ออกเป็นช่อแน่น แต่ละช่อมีดอกตัวเมียน้อยและดอกตัวผู้หลายดอก ก้านดอกตัวผู้ยาวประมาณ 2.5 มิลลิเมตร กลับเลี้ยง 5-6 อัน 1.5-2.5 มิลลิเมตร เรียงซ้อนกัน 2 วง ไม่มีกลีบดอก เกสรตัวผุ้ 3(5) อัน เชื่อมกันเป็นแกนสั้นๆ ก้านดอกตัวเมีย ยาวน้อยกว่า 5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงเล็กกว่าดอกตัวผู้ เชื่อมกันที่ฐาน ก้านเกสรตัวเมียเชื่อมกัน ปลายแยกออก รังไข่ฝังตัวครั้งหนึ่งในหมอนรองดอกที่มีระบายผล:ผลกลม 1.3-2 เซนติเมตร ไม่มีก้าน ผลอ่อนสีเขียวอมเหลือง ค่อนข้างจะใส มีเส้นสีอ่อน เนื้อฉ่ำน้ำ กินได้ ค่อนข้างเปรี้ยว พอแก่เป็นสีเหลืองออกน้ำตาล ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง 3 หน่วย เมล็ดรูปรี เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งเปลือก:เปลือกต้นสีน้ำตาลเทา หรือแต้มสีส้มออกครีม ผิวบางเรียบหลุดลอกเป็นแผ่นกว้างๆ เปลือกชั้นในสีชมพู อื่นๆ:ออกดอก เดือนกันยายน-ตุลาคม และติดผลเดือนพฤศจิกายน-มกราคม

ไม้ต้นผลัดใบ ขนาดเล็ก สูง 8-15 เมตร เรื่อนยอดโปร่ง ลำต้นคดงอ
ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับในระนาบเดียวกัน ลักษณะคล้ายใบแบบขนนก รูปขอบขนาน กว้าง 1- 5 มิลลิเมตร ยาว 4-15 มิลลิเมตร ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบมนหรือเว้าเข้า ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ใบอ่อนมีขนละเอียดมักจะมีแต้มสีแดง ใบแก่ไม่มีขน ก้านใบยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร มีหูใบเล็ก
ดอกเล็กสีเขียวอ่อนหรือเหลืองออกครีม ออกเป็นช่อแน่น แต่ละช่อมีดอกตัวเมียน้อยและดอกตัวผู้หลายดอก ก้านดอกตัวผู้ยาวประมาณ 2.5 มิลลิเมตร กลับเลี้ยง 5-6 อัน 1.5-2.5 มิลลิเมตร เรียงซ้อนกัน 2 วง ไม่มีกลีบดอก เกสรตัวผุ้ 3(5) อัน เชื่อมกันเป็นแกนสั้นๆ ก้านดอกตัวเมีย ยาวน้อยกว่า 5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงเล็กกว่าดอกตัวผู้ เชื่อมกันที่ฐาน ก้านเกสรตัวเมียเชื่อมกัน ปลายแยกออก รังไข่ฝังตัวครั้งหนึ่งในหมอนรองดอกที่มีระบาย
ผลกลม 1.3-2 เซนติเมตร ไม่มีก้าน ผลอ่อนสีเขียวอมเหลือง ค่อนข้างจะใส มีเส้นสีอ่อน เนื้อฉ่ำน้ำ กินได้ ค่อนข้างเปรี้ยว พอแก่เป็นสีเหลืองออกน้ำตาล ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง 3 หน่วย เมล็ดรูปรี เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง
เปลือกต้นสีน้ำตาลเทา หรือแต้มสีส้มออกครีม ผิวบางเรียบหลุดลอกเป็นแผ่นกว้างๆ เปลือกชั้นในสีชมพู
ออกดอก เดือนกันยายน-ตุลาคม และติดผลเดือนพฤศจิกายน-มกราคม
- ไม้ต้น สูง 4-12 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงชิดกันเป็นระนาบดูคล้ายใบประกอบ รูปขอบขนานกว้าง 2.5-5 มม. ยาว 8-12 มม. ดอก สีขาวหรือสีครีม ขนาดเล็กแยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกตามง่ามใบ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยง 6กลีบ ไม่มีกลีบดอก ผล กลมขนาด 1.2-2 ซม. เมล็ดมี 6 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรังและป่าดิบเขาทั่วไป
- พบขึ้นตามป่าผลัดใบแล้ง ป่าผลัดใบผสม สูงจากระดับน้ำทะเล 10-1,450 เมตร ต่างประเทศพบในพม่า ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้
- พบตามป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรังและป่าดิบเขาทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภู ป่าคำหัวแฮด ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสวนกวาง ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า ป่าสงวนแห่งชาติขุนแม่กวง(ป่าชุมชนบ้านตลาดขี้เหล็ก) ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้ ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน) ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- พะเยา,น่าน
- เชียงใหม่
- นนทบุรี
- อุตรดิตถ์
- เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- อุตรดิตถ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- อุบลราชธานี
- เชียงราย
- เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี
- ราชบุรี
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- ตาก
- ชัยภูมิ
- แม่ฮ่องสอน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- สระบุรี
- ชัยภูมิ
- อุบลราชธานี
- สุพรรณบุรี
- เลย
- อุบลราชธานี
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เลย
- ลำพูน, เชียงใหม่
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- สุโขทัย
- ตาก
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ศรีสะเกษ
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- - ต้นมะขามป้อม : เป็นไม้ยืนต้นสูง 8–12 เมตร
- เปลือกต้น : สีน้ำตาลปนเทา ผิวค่อนข้างเรียบ เรือนยอดรูปร่ม
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกรูปขอบขนานติดเป็นคู่ ขนาดเล็ก เรียงสลับ ออกดอกรวมกันเป็นกระจุกตามง่ามใบ ดอกขนาดเล็กมาก สีเหลืองนวล ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-เมษายน
- ผล : เป็นผลสดทรงกลม สีเขียวอ่อนค่อนข้างใส
- - ต้นมะขามป้อม : เป็นไม้ยืนต้นสูง 8–12 เมตร
- เปลือกต้น : สีน้ำตาลปนเทา ผิวค่อนข้างเรียบ เรือนยอดรูปร่ม
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกรูปขอบขนานติดเป็นคู่ ขนาดเล็ก เรียงสลับ ออกดอกรวมกันเป็นกระจุกตามง่ามใบ ดอกขนาดเล็กมาก สีเหลืองนวล ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-เมษายน
- ผล : เป็นผลสดทรงกลม สีเขียวอ่อนค่อนข้างใส
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,เนื้อผลแห้งหรือสด กินขับเสมหะ ทำให้ชุ่มคอ ผลแห้ง ต้มกินแก้ไข้ น้ำคั้นผลสด แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ มีวิตามินซี ใช้แก้โรคเลือดออกตามไรฟัน
ที่มาของข้อมูล