ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้น ขนาดกลาง สูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มเกือบกลม ลำต้นเปลาตรง โคนต้นแผ่ออกเกือบเป็นพูพอน เปลือกนอกสีเทา – น้ำตาล เป็นปุ่มและมีเกล็ดเล็กๆ เปลือกในเป็นริ้ว สีชมพู เหนียว มีน้ำยางสีชมพู มีขนสั้นนุ่มตามหูใบด้านนอก แกนใบประกอบ ใบประดับช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
-
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้น ขนาดกลาง สูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มเกือบกลม ลำต้นเปลาตรง โคนต้นแผ่ออกเกือบเป็นพูพอน เปลือกนอกสีเทา – น้ำตาล เป็นปุ่มและมีเกล็ดเล็กๆ เปลือกในเป็นริ้ว สีชมพู เหนียว มีน้ำยางสีชมพู มีขนสั้นนุ่มตามหูใบด้านนอก แกนใบประกอบ ใบประดับช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
-
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้น ขนาดกลาง สูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มเกือบกลม ลำต้นเปลาตรง โคนต้นแผ่ออกเกือบเป็นพูพอน เปลือกนอกสีเทา – น้ำตาล เป็นปุ่มและมีเกล็ดเล็กๆ เปลือกในเป็นริ้ว สีชมพู เหนียว มีน้ำยางสีชมพู มีขนสั้นนุ่มตามหูใบด้านนอก แกนใบประกอบ ใบประดับช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
-
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้น ขนาดกลาง สูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มเกือบกลม ลำต้นเปลาตรง โคนต้นแผ่ออกเกือบเป็นพูพอน เปลือกนอกสีเทา – น้ำตาล เป็นปุ่มและมีเกล็ดเล็กๆ เปลือกในเป็นริ้ว สีชมพู เหนียว มีน้ำยางสีชมพู มีขนสั้นนุ่มตามหูใบด้านนอก แกนใบประกอบ ใบประดับช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
-
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้น ขนาดกลาง สูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มเกือบกลม ลำต้นเปลาตรง โคนต้นแผ่ออกเกือบเป็นพูพอน เปลือกนอกสีเทา – น้ำตาล เป็นปุ่มและมีเกล็ดเล็กๆ เปลือกในเป็นริ้ว สีชมพู เหนียว มีน้ำยางสีชมพู มีขนสั้นนุ่มตามหูใบด้านนอก แกนใบประกอบ ใบประดับช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
ใบ : ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5 – 13 เซติเมตร อาจยาวได้ถึง 20 เซนติเมตร โคนใบใบเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ปลายใบสอบ ใบอ่อนสีขาวมีขนสั้นๆ ปกคลุม
ดอก : ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5 – 5.5 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 2 – 4 มิลลิเมตร โคนมีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 3 – 5 มิลลิเมตร
ผล : ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ทรงกลม เบี้ยวเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ภายในฉ่ำน้ำ มี 1 – 2 เมล็ด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามหูใบด้านนอก แกนใบประกอบ ใบประดับ ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก หูใบรูปใบหอกยาว 0.5-1 ซม. บางครั้งมีหูใบย่อย รูปรี ยาว 2-5 ซม. ใบย่อยมี 5-10 คู่ ก้านใบประกอบยาวได้ถึง 10 ซม. ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5-13 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกเป็นกระจุก 3-10 ช่อ ยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านดอกยาว 1-3 มม. ดอกยาว 0.7-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 5-5.5 มม. โคนก้านชูอับเรณูยาว ยาว 2-4 มม. อันตรงข้ามกลีบเลี้ยงยาวกว่าอันตรงข้ามกลีบดอก โคนมีขนยาว รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-5 มม. มีขนยาว ผลเบี้ยว เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ซม. มี 1-5 ไพรีน
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ยาว 25-30 ซม. ใบย่อย 8-10 คู่ รูปขอบขนานหรือรูปหอก ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ขนาด 1.5-2.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง รูปขอบขนานแกมรู้หอก ยาว 2.5-3.5 มม. สีครีมแกมชมพูหรือเหลือง มีขน เกสรตัวผู้ 10 อัน เกสรตัวเมีย 1 อัน ยาว 5-7 มม. ผล เมล็ดเดียว รูปกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม.
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ยาว 25-30 ซม. ใบย่อย 8-10 คู่ รูปขอบขนานหรือรูปหอก ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ขนาด 1.5-2.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง รูปขอบขนานแกมรู้หอก ยาว 2.5-3.5 มม. สีครีมแกมชมพูหรือเหลือง มีขน เกสรตัวผู้ 10 อัน เกสรตัวเมีย 1 อัน ยาว 5-7 มม. ผล เมล็ดเดียว รูปกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม.
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ยาว 25-30 ซม. ใบย่อย 8-10 คู่ รูปขอบขนานหรือรูปหอก ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ขนาด 1.5-2.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง รูปขอบขนานแกมรู้หอก ยาว 2.5-3.5 มม. สีครีมแกมชมพูหรือเหลือง มีขน เกสรตัวผู้ 10 อัน เกสรตัวเมีย 1 อัน ยาว 5-7 มม. ผล เมล็ดเดียว รูปกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม.
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ยาว 25-30 ซม. ใบย่อย 8-10 คู่ รูปขอบขนานหรือรูปหอก ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ขนาด 1.5-2.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง รูปขอบขนานแกมรู้หอก ยาว 2.5-3.5 มม. สีครีมแกมชมพูหรือเหลือง มีขน เกสรตัวผู้ 10 อัน เกสรตัวเมีย 1 อัน ยาว 5-7 มม. ผล เมล็ดเดียว รูปกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม.
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 550-1,200 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค. ติดผลเดือน พ.ค.-ต.ค.
-
พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 550-1,200 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค. ติดผลเดือน พ.ค.-ต.ค.
-
พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 550-1,200 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค. ติดผลเดือน พ.ค.-ต.ค.
-
พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 550-1,200 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค. ติดผลเดือน พ.ค.-ต.ค.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การขยายพันธุ์ :
-
เพราะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพราะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพราะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพราะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพราะเมล็ด ตอนกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
เพชรบุรี
-
สระบุรี
-
ลำปาง
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
สระแก้ว
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช