ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- ราชบุรี
- กาญจนบุรี
- สระบุรี
- ชัยภูมิ
- สุโขทัย
- สุโขทัย
- ตาก
- กาญจนบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- ระนอง, ชุมพร
- กาญจนบุรี, ตาก
- บึงกาฬ
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
- ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
- ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
- ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
- ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
การขยายพันธุ์ :
- โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
- โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
- โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
- โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
- โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
- อาหาร
- ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย ช่วยบำรุงธาตุไฟ ขับน้ำย่อยอาหารทำให้กระเพาะย่อยอาหารได้ดีขึ้น ช่วยบำรุงโลหิต น้ำตาลที่ได้จากการหมักน้ำจากลำต้นมีแร่ธาตุ ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย ช่วยบำรุงและรักษาสายตา โดยพบว่าผู้ที่รับประทานยอดสะเดาตั้งแต่เด็ก เมื่ออายุ 90 กว่า สายตายังดีมาก ใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร ด้วยการใช้ช่อดอกนำมาลวกน้ำร้อน จิ้มน้ำปลาหวานหรือน้ำพริก หรือจะใช้เปลือกสดประมาณ 1 ฝ่ามือ นำมาต้มกับน้ำ 2 ถ้วยแก้ว ใช้รับประทานครั้งละครึ่งถ้วยแก้ว ช่วยแก้กษัยหรือโรคซูบผอม ผอมแห้งแรงน้อย ช่วยรักษาโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเอดส์ เนื่องจากการรับประทานใบสะเดาเป็นอาหารจะช่วยทำให้เจริญอาหาร ลดอาการเบื่ออาหารหรือกินอาหารได้น้อยแล้วทำให้ซูบผอม จนทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน ช่วยลดความเครียด โดยมีผลการทดลองในหนู ระหว่างกลุ่มที่ได้รับน้ำใบสะเดาคั้นและกลุ่มที่รับยา Diazepam (Valium) ซึ่งเป็นยาลดความกังวล ผลการทดลองพบว่าสะเดาส่งผลได้ดีเท่ากับหรือดีกว่ายา Diazepam ช่วยทำให้นอนหลับสบายหรือหากนอนไม่หลับ ให้ใช้ใบและก้านสะเดาประมาณ 1 กำมือ ใส่น้ำพอท่วมยาแล้วต้มให้เดือดนาน 5-10 นาที ใช้กินครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3-4 เวลา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล