ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น สูง 5-10 เมตร เปลือกต้นหนา แตกเป็นสะเก็ด กิ่งอ่อนมีขนสีเหลือง ใบประกอบแบบขนนกปลายดี่ เรียงสลับ ใบย่อย 3-7 คู่ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-7 เซนติเมตร ยาว 6- 18 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนกลมเบี้ยว ขอบเรียบเป็นคลื่น สีเขียวเข้ม ดอก แบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกเพศเดียวและดอกสมบูรณ์เพศร่วมต้น ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ สีเขียว มีขน กลีบดอก 3 กลีบ สีเหลือง เกสรเพศผู้ 6 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ มีขน ยอดเกสรเพศเมีย 3 พู ผล แบบผลแห้งแตก 2-3 ซีก ทรงกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร ผลสุกสีเหลือง มี 2-3 เมล็ด สีน้ำตาลดำ มีเยื่อ หุ้มเมล็ดสีแดง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ออกดอกเดือนพฤศจิกายน - มกราคม
การกระจายพันธุ์ :
-
จีน เอเชีย
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช