ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ต้น : ไม้ยืนต้น อายุหลายปี สูงได้ถึง 15 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มถึงดำ กิ่งมีขนสีน้ำตาลปกคลุม
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
-
- ต้น : ไม้ยืนต้น อายุหลายปี สูงได้ถึง 15 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มถึงดำ กิ่งมีขนสีน้ำตาลปกคลุม
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
-
- ต้น : ไม้ยืนต้น อายุหลายปี สูงได้ถึง 15 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มถึงดำ กิ่งมีขนสีน้ำตาลปกคลุม
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
-
- ต้น : ไม้ยืนต้น อายุหลายปี สูงได้ถึง 15 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มถึงดำ กิ่งมีขนสีน้ำตาลปกคลุม
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
-
- ต้น : ไม้ยืนต้น อายุหลายปี สูงได้ถึง 15 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มถึงดำ กิ่งมีขนสีน้ำตาลปกคลุม
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 3-12 เซนติเมตร ปลายมน โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ขอบเรียบถึงเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยง เป็นมัน แผ่นใบสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านใต้มีขน ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
- ดอก : ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศเมีย เกสรเพศผู้ 14-16 เกสร รังไข่ไม่เจริญ มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆังปลายแยกเป็นรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปคนโท ปลายแยกเป็น 4 แฉก ขอบกลีบเกยซ้อนกันหนา เกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-11 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ รูปไข่ มีขน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม
- ผล : ผลทรงกลม สีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดแน่นที่ขั้ว ผลอ่อนมีขนสีน้ำตาลคลุม ผลสุกเกลี้ยงสีเหลือง
การขยายพันธุ์ :
-
โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
เพชรบุรี
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
สระบุรี
-
ชัยภูมิ
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
ตาก
-
ลำปาง
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เปลือกต้นหรือแก่นใช้เป็นยาอายุวัฒนะ ทำให้มีอายุยืนยาว ตำรายาไทยจะใช้เปลือกต้นตะโกนา เถาบอระเพ็ด ผสมกับเปลือกทิ้งถ่อน เมล็ดข่อ ผลพริกไทยแห้งและหัวแห้วหมู อย่างละเท่ากันนำมาต้มกับน้ำดื่มหรือดองกับเหล้าดื่มเป็นยาอายุวัฒนะ แก่นใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาบำรุงธาตุในร่างกาย เปลือกต้นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นชาช่วยบำรุงกำลัง ช่วยทำให้เจริญอาหาร แก่นและเปลือกใช้เข้ายารักษามะเร็ง ผลนำมาตากแดด ใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้กษัย บ้างว่าใช้รากนำมาต้มกับน้ำดื่ม ช่วยแก้โรคผอมแห้ง หลังการคลอดบุตรเนื่องมาจากอยู่ไฟไม่ได้ ช่วยแก้อาการคลื่นไส้ แก้อาเจียนเป็นโลหิต ต้นใช้เป็นยาแก้ไข้ ราก ต้น และแก่นเป็นยาแก้ไข้กลับ ไข้ซ้ำ จากการกินของแสลงที่เป็นพิษ
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |