ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 4-10 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 3-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ขอบใบจักรฟันเลื่อย ดอก สีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ซอกใบ ดอกเพศผู้แลดอกเพศเมียอยู่กิ่งเดียวกันหรือต่างกิ่ง ดอกเพศผู้มีจำนวนมากกว่า 20 ดอก ช่อดอกเพศเมียมีดอกประมาณ 15-20 ดอก กลีบรวม 5 กลีบ มีขน ผล เมล็ดเดียว แข็งกลม ขนาด 3-4 มม. เมื่อสุกสีดำ
- ไม้ต้น สูง 4-10 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 3-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ขอบใบจักรฟันเลื่อย ดอก สีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ซอกใบ ดอกเพศผู้แลดอกเพศเมียอยู่กิ่งเดียวกันหรือต่างกิ่ง ดอกเพศผู้มีจำนวนมากกว่า 20 ดอก ช่อดอกเพศเมียมีดอกประมาณ 15-20 ดอก กลีบรวม 5 กลีบ มีขน ผล เมล็ดเดียว แข็งกลม ขนาด 3-4 มม. เมื่อสุกสีดำ
การกระจายพันธุ์ :
- เป็นไม้เบิกนำ ชอบขึ้นตามที่โล่งและชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 600-1,500 เมตร
- เป็นไม้เบิกนำ ชอบขึ้นตามที่โล่งและชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 600-1,500 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- บริเวณเขาดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- บริเวณจุดผ่อนปรนไทย-ลาว อำเภอสองแคว
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- น่าน
- น่าน
- เพชรบูรณ์
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ชัยภูมิ
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- สุโขทัย
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- บึงกาฬ
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- ตาก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 4-12 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีเทา เรือนยอดโปร่งเป็นพุ่มแผ่กว้าง กิ่งก้านออกในแนวขนานกับพื้นดิน ปลายกิ่งลู่ลง กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม เปลือกต้นสีเขียวอมเทาอ่อนหรือน้ำตาล ผิวบางเรียบเกลี้ยงหรือมีรอยแตกตามยาวบางๆ มีรูอากาศมาก เปลือกชั้นในสีเขียวสด ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 7-12 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบไม่สมมาตร ขอบใบจักแบบฟันเลื่อยละเอียด ยอดอ่อนมีขนสีเงินหนาแน่น ผิวใบสากคาย ใบแก่ด้านบนมีขนหยาบประปราย ด้านล่างสีเขียวอมเทาเป็นหย่อมแน่นๆ ปะปนกับขนสีเงินที่ยาวกว่า เส้นใบออกจากฐานใบ 3-5 เส้น ทอด ½-3/4 ตามความยาวของใบ เส้นใบข้างโค้งมาก 4-8 คู่ ก้านใบยาว 0.4-1.7 ซม. มีร่องและมีขนหนาแน่น มักจะมีประสีชมพูหรือม่วง หูใบรูปหอก ขนาด 2.6 มม. ไม่เชื่อมกัน ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็กออกเป็นช่อสั้นๆ เป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยมีขนาดเล็ก ขนาดดอก 0.3 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่บนต้นเดียวกัน แต่แยกช่อ ดอกเพศผู้มีจำนวนมากกว่า 20 ดอก ช่อดอกเพศเมียมีดอกประมาณ 15-20 ดอก ดอกย่อยมีกลีบรวม 5 กลีบ มีขน ดอกตัวผู้ช่อแน่นและแตกแขนงยาวถึง 2.5 ซม. ดอกมักเป็นคู่ มีก้านของช่อข้างล่างโค้งลง ชั้นกลีบเลี้ยงแยก 4-5 พู ขนาด 1.5 มม. ไม่ซ้อนกัน เกสรตัวผู้ 4-5 อัน อยู่ตรงข้ามกับพูกลีบเลี้ยง ดอกตัวเมียคล้ายกันแต่ช่อโปร่งกว่า มีเกสรตัวเมียแยก 2 กิ่ง รังไข่ไม่มีก้านชู ผลสดลักษณะกลม แข็ง ขนาด 3-4 มิลลิเมตร ก้านผลยาว 0.3 ซม. ผลสีเขียวเข้มเมื่อสุกมีสีดำ มีชั้นกลีบเลี้ยงติดที่ฐานและปลายเกสรตัวเมียติดที่ยอดผล เนื้อภายในบาง ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง มีเมล็ดเดียว พบตามที่โล่งและตามชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 600-1,500 เมตร เป็นไม้เนื้อ่อนโตเร็ว ออกดอกและติดผลราวเดือนมีนาคมถึงสิงหาคม
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 4-12 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีเทา เรือนยอดโปร่งเป็นพุ่มแผ่กว้าง กิ่งก้านออกในแนวขนานกับพื้นดิน ปลายกิ่งลู่ลง กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม เปลือกต้นสีเขียวอมเทาอ่อนหรือน้ำตาล ผิวบางเรียบเกลี้ยงหรือมีรอยแตกตามยาวบางๆ มีรูอากาศมาก เปลือกชั้นในสีเขียวสด ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 7-12 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบไม่สมมาตร ขอบใบจักแบบฟันเลื่อยละเอียด ยอดอ่อนมีขนสีเงินหนาแน่น ผิวใบสากคาย ใบแก่ด้านบนมีขนหยาบประปราย ด้านล่างสีเขียวอมเทาเป็นหย่อมแน่นๆ ปะปนกับขนสีเงินที่ยาวกว่า เส้นใบออกจากฐานใบ 3-5 เส้น ทอด ½-3/4 ตามความยาวของใบ เส้นใบข้างโค้งมาก 4-8 คู่ ก้านใบยาว 0.4-1.7 ซม. มีร่องและมีขนหนาแน่น มักจะมีประสีชมพูหรือม่วง หูใบรูปหอก ขนาด 2.6 มม. ไม่เชื่อมกัน ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็กออกเป็นช่อสั้นๆ เป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยมีขนาดเล็ก ขนาดดอก 0.3 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่บนต้นเดียวกัน แต่แยกช่อ ดอกเพศผู้มีจำนวนมากกว่า 20 ดอก ช่อดอกเพศเมียมีดอกประมาณ 15-20 ดอก ดอกย่อยมีกลีบรวม 5 กลีบ มีขน ดอกตัวผู้ช่อแน่นและแตกแขนงยาวถึง 2.5 ซม. ดอกมักเป็นคู่ มีก้านของช่อข้างล่างโค้งลง ชั้นกลีบเลี้ยงแยก 4-5 พู ขนาด 1.5 มม. ไม่ซ้อนกัน เกสรตัวผู้ 4-5 อัน อยู่ตรงข้ามกับพูกลีบเลี้ยง ดอกตัวเมียคล้ายกันแต่ช่อโปร่งกว่า มีเกสรตัวเมียแยก 2 กิ่ง รังไข่ไม่มีก้านชู ผลสดลักษณะกลม แข็ง ขนาด 3-4 มิลลิเมตร ก้านผลยาว 0.3 ซม. ผลสีเขียวเข้มเมื่อสุกมีสีดำ มีชั้นกลีบเลี้ยงติดที่ฐานและปลายเกสรตัวเมียติดที่ยอดผล เนื้อภายในบาง ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง มีเมล็ดเดียว พบตามที่โล่งและตามชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 600-1,500 เมตร เป็นไม้เนื้อ่อนโตเร็ว ออกดอกและติดผลราวเดือนมีนาคมถึงสิงหาคม
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 4-12 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีเทา เรือนยอดโปร่งเป็นพุ่มแผ่กว้าง กิ่งก้านออกในแนวขนานกับพื้นดิน ปลายกิ่งลู่ลง กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม เปลือกต้นสีเขียวอมเทาอ่อนหรือน้ำตาล ผิวบางเรียบเกลี้ยงหรือมีรอยแตกตามยาวบางๆ มีรูอากาศมาก เปลือกชั้นในสีเขียวสด ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 7-12 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบไม่สมมาตร ขอบใบจักแบบฟันเลื่อยละเอียด ยอดอ่อนมีขนสีเงินหนาแน่น ผิวใบสากคาย ใบแก่ด้านบนมีขนหยาบประปราย ด้านล่างสีเขียวอมเทาเป็นหย่อมแน่นๆ ปะปนกับขนสีเงินที่ยาวกว่า เส้นใบออกจากฐานใบ 3-5 เส้น ทอด ½-3/4 ตามความยาวของใบ เส้นใบข้างโค้งมาก 4-8 คู่ ก้านใบยาว 0.4-1.7 ซม. มีร่องและมีขนหนาแน่น มักจะมีประสีชมพูหรือม่วง หูใบรูปหอก ขนาด 2.6 มม. ไม่เชื่อมกัน ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็กออกเป็นช่อสั้นๆ เป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยมีขนาดเล็ก ขนาดดอก 0.3 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่บนต้นเดียวกัน แต่แยกช่อ ดอกเพศผู้มีจำนวนมากกว่า 20 ดอก ช่อดอกเพศเมียมีดอกประมาณ 15-20 ดอก ดอกย่อยมีกลีบรวม 5 กลีบ มีขน ดอกตัวผู้ช่อแน่นและแตกแขนงยาวถึง 2.5 ซม. ดอกมักเป็นคู่ มีก้านของช่อข้างล่างโค้งลง ชั้นกลีบเลี้ยงแยก 4-5 พู ขนาด 1.5 มม. ไม่ซ้อนกัน เกสรตัวผู้ 4-5 อัน อยู่ตรงข้ามกับพูกลีบเลี้ยง ดอกตัวเมียคล้ายกันแต่ช่อโปร่งกว่า มีเกสรตัวเมียแยก 2 กิ่ง รังไข่ไม่มีก้านชู ผลสดลักษณะกลม แข็ง ขนาด 3-4 มิลลิเมตร ก้านผลยาว 0.3 ซม. ผลสีเขียวเข้มเมื่อสุกมีสีดำ มีชั้นกลีบเลี้ยงติดที่ฐานและปลายเกสรตัวเมียติดที่ยอดผล เนื้อภายในบาง ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง มีเมล็ดเดียว พบตามที่โล่งและตามชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 600-1,500 เมตร เป็นไม้เนื้อ่อนโตเร็ว ออกดอกและติดผลราวเดือนมีนาคมถึงสิงหาคม
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เนื้อไม้อ่อนใช้สร้างสิ่งก่อสร้างชั่วคราว
ที่มาของข้อมูล