ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้น สูง 5-10 ม. กิ่งและใบมีขนละเอียดรูปดาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 12-20 ซม. ยาว 18-35 ซม. ก้านใบยาว 3-5 ซม. ดอกสีม่วงขนาดเล็ก ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอกปลายเกือบเป็นเส้นตรง ขนาด 15 มม. กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ ขนาด 3 มม. ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 2 มม. สีม่วง
- ไม้ยืนต้น สูง 5-10 ม. กิ่งและใบมีขนละเอียดรูปดาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 12-20 ซม. ยาว 18-35 ซม. ก้านใบยาว 3-5 ซม. ดอกสีม่วงขนาดเล็ก ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอกปลายเกือบเป็นเส้นตรง ขนาด 15 มม. กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ ขนาด 3 มม. ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 2 มม. สีม่วง
- ไม้ยืนต้น สูง 5-10 ม. กิ่งและใบมีขนละเอียดรูปดาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 12-20 ซม. ยาว 18-35 ซม. ก้านใบยาว 3-5 ซม. ดอกสีม่วงขนาดเล็ก ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอกปลายเกือบเป็นเส้นตรง ขนาด 15 มม. กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ ขนาด 3 มม. ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 2 มม. สีม่วง
- ไม้ยืนต้น สูง 5-10 ม. กิ่งและใบมีขนละเอียดรูปดาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 12-20 ซม. ยาว 18-35 ซม. ก้านใบยาว 3-5 ซม. ดอกสีม่วงขนาดเล็ก ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอกปลายเกือบเป็นเส้นตรง ขนาด 15 มม. กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ ขนาด 3 มม. ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 2 มม. สีม่วง
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งมีขนรูปดาวสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง เส้นกลางใบด้านบน ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก และรังไข่ ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-35 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่มหรือกลม แผ่นใบหนา มีต่อมกระจาย ก้านใบยาว ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง แผ่กว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-12 ซม. ก้านช่อยาวกว่าก้านใบ เป็นเหลี่ยมเล็กน้อย ใบประดับรูปแถบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ขอบตัด ดอกสีม่วง หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 3 มม. ปลายแยกเป็น 4 แฉกรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. ด้านนอกเกลี้ยงหรือมีขนประปราย เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก ยาวกว่ากลีบดอก อับเรณูแตกตามยาว รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรแผ่กว้าง ผลสด ผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มม. สุกสีม่วงอมชมพู
การกระจายพันธุ์ :
- จากอินเดียตะวันออกถึงมาเลเซีย และสุมาตรา พบทั่วไปตามป่าผลัดใบและป่าดิบเขา ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
- จากอินเดียตะวันออกถึงมาเลเซีย และสุมาตรา พบทั่วไปตามป่าผลัดใบและป่าดิบเขา ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
- จากอินเดียตะวันออกถึงมาเลเซีย และสุมาตรา พบทั่วไปตามป่าผลัดใบและป่าดิบเขา ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
- จากอินเดียตะวันออกถึงมาเลเซีย และสุมาตรา พบทั่วไปตามป่าผลัดใบและป่าดิบเขา ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,200 ม.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- บริเวณจุดผ่อนปรนไทย-ลาว อำเภอสองแคว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- แพร่,น่าน
- น่าน
- เพชรบูรณ์
- ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- เลย
- ตาก
- จันทบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- ตาก
- ตาก
- ยะลา, นราธิวาส
- ลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่ม/ไม้ต้นขนาดเล็ก
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าชายหาด ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร 
ที่มาของข้อมูล