ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
-
พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
-
พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
-
พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติแหลมสน-ปากแม่น้ำกระบุรี-ปากคลองกะเปอร์
-
บริเวณเขาดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
-
อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
น่าน
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
สตูล
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครศรีธรรมราช
-
อุบลราชธานี
-
ชุมพร
-
ตรัง, สตูล
-
นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
-
นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, ตรัง
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
แม่ฮ่องสอน
-
สตูล, สงขลา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
บึงกาฬ
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก
-
นนทบุรี
-
หนองคาย
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มะตาด เป็นพืชในสกุลส้าน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และทางตะวันออกของศรีลังกาจรดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และเวียดนาม และทางตอนใต้ของไทยถึงมาเลเซีย และอินโดนีเซีย มะตาดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: ส้มปรุ ส้านกว้าง ส้านท่า ส้านใหญ่ ส้านป้าว แส้น
-
มะตาด เป็นพืชในสกุลส้าน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และทางตะวันออกของศรีลังกาจรดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และเวียดนาม และทางตอนใต้ของไทยถึงมาเลเซีย และอินโดนีเซีย มะตาดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: ส้มปรุ ส้านกว้าง ส้านท่า ส้านใหญ่ ส้านป้าว แส้น
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |