ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
พลวง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง ๒๐-๓๐ เมตร เป็นไม้ผลัดใบ ลำต้นตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผล ใบขนาดใหญ่เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาอ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวลำต้น เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งแขนงมักคดงอ เนื้อไม้สีน้ำตาลแกมแดง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
-
พลวง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง ๒๐-๓๐ เมตร เป็นไม้ผลัดใบ ลำต้นตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผล ใบขนาดใหญ่เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาอ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวลำต้น เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งแขนงมักคดงอ เนื้อไม้สีน้ำตาลแกมแดง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
-
พลวง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง ๒๐-๓๐ เมตร เป็นไม้ผลัดใบ ลำต้นตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผล ใบขนาดใหญ่เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาอ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวลำต้น เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งแขนงมักคดงอ เนื้อไม้สีน้ำตาลแกมแดง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
-
พลวง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง ๒๐-๓๐ เมตร เป็นไม้ผลัดใบ ลำต้นตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผล ใบขนาดใหญ่เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาอ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวลำต้น เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งแขนงมักคดงอ เนื้อไม้สีน้ำตาลแกมแดง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
ใบ : เป็นรูปไข่ กว้าง ๑๕-๒๘ เซนติเมตร ยาว ๑๕-๔๐ เซนติเมตร เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนใบหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นคลื่นปลายใบสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาบแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา
ดอก : สีม่วงแดง ทั้งออกเป็นช่อเดี่ยวและออกตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 40 ม. หูใบขนาดใหญ่ ยาวได้ถึง 13 ซม. เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม ใบรูปรีกว้างหรือรูปไข่ ยาว 12-70 ซม. ปลายมน โคนรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนหนาแน่นด้านล่าง เส้นแขนงใบข้างละ 12-15 เส้น ก้านใบยาว 3.5-12 ซม. ช่อดอกแยกแขนงเดียว ยาว 5-15 ซม. ช่อแขนงยาว 5-8 ซม. มี 5-7 ดอก เรียงด้านเดียว ใบประดับยาวประมาณ 2 ซม. ก้านดอกหนา สั้น กลีบเลี้ยงยาว 1.5-3 มม. กลีบดอกรูปใบหอก ยาว 2.5-3 ซม. ด้านนอกมีขนรูปดาวกระจาย เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูยาว 5-7 มม. หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลมีสันคล้ายปีกครึ่งบน ปีกยาว 2 ปีก ยาว 9-15 ซม. กว้าง 2.5-4 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว 1.5-2 ซม. พับงอกลับ ก้านผลยาวประมาณ 5 มม.
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 20-30 เมตร ทิ้งใบช่วงสั้นๆ ในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผลใบเห็นชัด กิ่งแตกแขนงมักคดงอ ใบรูปไข่ ขนาดใหญ่ กว้าง 12-30 ซม. ยาว 14-36 ซม. เนื้อหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ปลายสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาลแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา ดอกสีม่วงแดงถึงชมพู ออกเป็นช่อเดี่ยวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยมีขนาด 3-4 ซม. กลีบรองดอกโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย มีสันตามยาวตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียนคล้ายกังหัน ผลรูปกรวย ส่วนโคนรูปกระสวยมี 5 สัน มีปีก 2 ปี ขนาดกว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 40 ม. หูใบขนาดใหญ่ ยาวได้ถึง 13 ซม. เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม ใบรูปรีกว้างหรือรูปไข่ ยาว 12–70 ซม. ปลายมน โคนรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนหนาแน่นด้านล่าง เส้นแขนงใบข้างละ 12–15 เส้น ก้านใบยาว 3.5–12 ซม. ช่อดอกแยกแขนงเดียว ยาว 5–15 ซม. ช่อแขนงยาว 5–8 ซม. มี 5–7 ดอก เรียงด้านเดียว ใบประดับยาวประมาณ 2 ซม. ก้านดอกหนา สั้น กลีบเลี้ยงยาว 1.5–3 มม. กลีบดอกรูปใบหอก ยาว 2.5–3 ซม. ด้านนอกมีขนรูปดาวกระจาย เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูยาว 5–7 มม. หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลมีสันคล้ายปีกครึ่งบน ปีกยาว 2 ปีก ยาว 9–15 ซม. กว้าง 2.5–4 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว 1.5–2 ซม. พับงอกลับ ก้านผลยาวประมาณ 5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ยาง, สกุล)
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 20-30 เมตร ทิ้งใบช่วงสั้นๆ ในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผลใบเห็นชัด กิ่งแตกแขนงมักคดงอ ใบรูปไข่ ขนาดใหญ่ กว้าง 12-30 ซม. ยาว 14-36 ซม. เนื้อหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ปลายสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาลแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา ดอกสีม่วงแดงถึงชมพู ออกเป็นช่อเดี่ยวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยมีขนาด 3-4 ซม. กลีบรองดอกโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย มีสันตามยาวตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียนคล้ายกังหัน ผลรูปกรวย ส่วนโคนรูปกระสวยมี 5 สัน มีปีก 2 ปี ขนาดกว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 20-30 เมตร ทิ้งใบช่วงสั้นๆ ในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผลใบเห็นชัด กิ่งแตกแขนงมักคดงอ ใบรูปไข่ ขนาดใหญ่ กว้าง 12-30 ซม. ยาว 14-36 ซม. เนื้อหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ปลายสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาลแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา ดอกสีม่วงแดงถึงชมพู ออกเป็นช่อเดี่ยวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยมีขนาด 3-4 ซม. กลีบรองดอกโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย มีสันตามยาวตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียนคล้ายกังหัน ผลรูปกรวย ส่วนโคนรูปกระสวยมี 5 สัน มีปีก 2 ปี ขนาดกว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 20-30 เมตร ทิ้งใบช่วงสั้นๆ ในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรง กิ่งอ่อนมีรอยแผลใบเห็นชัด กิ่งแตกแขนงมักคดงอ ใบรูปไข่ ขนาดใหญ่ กว้าง 12-30 ซม. ยาว 14-36 ซม. เนื้อหนา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายห่างๆ โคนหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ ปลายสอบ ใบอ่อนสีน้ำตาลแกมแดง กาบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้นๆ สีเทา ดอกสีม่วงแดงถึงชมพู ออกเป็นช่อเดี่ยวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยมีขนาด 3-4 ซม. กลีบรองดอกโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย มีสันตามยาวตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียนคล้ายกังหัน ผลรูปกรวย ส่วนโคนรูปกระสวยมี 5 สัน มีปีก 2 ปี ขนาดกว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 8-28 เมตร ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านน้อย เรือนยอดเล็ก เปลือกลำต้นหนาเป็นสีน้ำตาลหรือเทา แตกเป็นสะเก็ดหนาและเป็นร่องลึกตามยาว เนื้อไม้เป็นสีแดงอ่อนถึงสีน้ำตาลปนแดง ตามกิ่งอ่อนและใบมีขนสีขาวขึ้นปกคลุม เหียงเป็นพรรณไม้ที่มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี และหลายสภาพตั้งแต่ป่าบนภูเขาสูงจนถึงป่าชายหาดริมทะเล แม้แต่ทางภาคใต้ที่มีฝนตกชุกก็พบต้นเหียงขึ้นอยู่ตามป่าชายหากริมทะเลและป่าทุ่งที่มีดินเป็นกรดและมีกรวดปน
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นหนาแน่นในป่าเต็งรัง และป่าสนเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ชอบขึ้นตามที่ลาดต่ำใกล้ชายห้วย หรือใกล้ที่ชุ่มชื้น ที่ระดับความสูง 100-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ชอบขึ้นตามที่ลาดต่ำใกล้ชายห้วย หรือใกล้ที่ชุ่มชื้น ที่ระดับความสูง 100-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ชอบขึ้นตามที่ลาดต่ำใกล้ชายห้วย หรือใกล้ที่ชุ่มชื้น ที่ระดับความสูง 100-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ชอบขึ้นตามที่ลาดต่ำใกล้ชายห้วย หรือใกล้ที่ชุ่มชื้น ที่ระดับความสูง 100-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
เชียงราย
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
ลำปาง
-
ราชบุรี
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ลำพูน, เชียงใหม่
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, ตาก
-
สุโขทัย
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครศรีธรรมราช
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ผาแต้ม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
สุรินทร์
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เมล็ดมีลักษณะเหมือนเมล็ดต้นยาง คือ เมล็ดกลมและมีปีก ซึ่งปีกจะทำให้เมื่อแก่จัด เมล็ดร่วงจากต้นแล้วปลิวลมไปได้ไกล
-
ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เมล็ดมีลักษณะเหมือนเมล็ดต้นยาง คือ เมล็ดกลมและมีปีก ซึ่งปีกจะทำให้เมื่อแก่จัด เมล็ดร่วงจากต้นแล้วปลิวลมไปได้ไกล
-
ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เมล็ดมีลักษณะเหมือนเมล็ดต้นยาง คือ เมล็ดกลมและมีปีก ซึ่งปีกจะทำให้เมื่อแก่จัด เมล็ดร่วงจากต้นแล้วปลิวลมไปได้ไกล
-
ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เมล็ดมีลักษณะเหมือนเมล็ดต้นยาง คือ เมล็ดกลมและมีปีก ซึ่งปีกจะทำให้เมื่อแก่จัด เมล็ดร่วงจากต้นแล้วปลิวลมไปได้ไกล
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,ชันที่ได้จากการเจาะลำต้นใช้ยาแนวไม้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช