ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นกึ่งผลัดใบขนาดกลาง ความสูง 10-20 เมตร ใบ: ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบเวียนสลับ ใบรูปขอบขนานแกมรี ขนาดของใบ 5-8x10-15 เซนติเมตร ฐานใบแหลม ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ขอบใบเรียบ ใบทั้งสองด้านเกลี้ยง ดอก: ช่อดอกแบบช่อเชิงลดแน่น เกิดตามง่ามใบหรือที่ปลายกิ่ง ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกสีเหลืองอ่อน มีวงกลีบรวมเป็นรูปถ้วยยาว อาจเชื่อมติดกัน สีน้ำตาล ไม่มีกลีบดอก ออกดอกระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม ผล: ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว เมื่อติดกับฐานรองถ้วยเรียกว่า acorn ผลกลม ฐานรองรูปถ้วยยาว หุ้มผลเพียงครึ่งหนึ่งของผล เรียกว่า cupule สีเขียวเมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล 1 cupule มี 1 ผล cupule เกลี้ยง ตัวผลกลมยาว ปลายแหลม ผลแก่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม เปลือก: เปลือกนอกสีเทา แตกเป็นร่องตื้นๆตามยาวและตามขวาม เปลือกในสีน้ำตาลแดงหรือสีเลือดหมู
-
ไม้ต้น สูง 7-15 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 5-7 ซม. ดอก ขนาดเล็ก แยกเพศ อยู่บนต้นเดียวกัน ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ยาว12-18 ซม. ผล เปลือกแข้ง เมล็ดเดียว รูปไข่ กว้าง 8-12 มม. ยาว 10-13 มม. ที่โคนมีกาบหุ้มผล ผิวด้านนอกเป็นเกล็ดเรียนซ้อนกัน ออกเป็นช่อผล
-
ไม้ต้น สูง 7-15 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 5-7 ซม. ดอก ขนาดเล็ก แยกเพศ อยู่บนต้นเดียวกัน ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ยาว12-18 ซม. ผล เปลือกแข้ง เมล็ดเดียว รูปไข่ กว้าง 8-12 มม. ยาว 10-13 มม. ที่โคนมีกาบหุ้มผล ผิวด้านนอกเป็นเกล็ดเรียนซ้อนกัน ออกเป็นช่อผล
ระบบนิเวศ :
-
พบทั่วไปในป่าเต็งรัง และป่าเต็งรังผสมสน ที่ระดับความสูง 700-1,100 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าเต็งรังและป่าเต็งรังผสมสน ที่ระดับความสูง 700-1,100 เมตร
-
พบตามป่าเต็งรังและป่าเต็งรังผสมสน ที่ระดับความสูง 700-1,100 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
เชียงราย
-
เชียงราย
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
นครศรีธรรมราช
-
ชัยภูมิ
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
ชัยภูมิ
-
เชียงราย, พะเยา
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, ตาก
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ศรีสะเกษ
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,ที่อยู่อาศัย
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช