ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 20-40 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบกลม เปลือกสีน้ำตาลดำ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปหอก กว้าง 3-6 ซม. ยาว 10-14 ซม. เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนและเบี้ยว หลังใบมีต่อมอยู่ตามง่ามแขนงเส้นใบ ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อยาวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม มีขนนุ่ม กลีบรองดอกเป็นถ้วยเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกัน ผลกลมหรือรูปไข่เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่ง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 0.6 ซม. ยาว 1 ซม.ปีกยาว 1 คู่ รูปใบพาย ปลายปีกกว้างค่อยๆ สอบเรียวมาทางโคนปีก เส้นปีกตามยาวมี 7 เส้น ปีกสั้น มีความยาวไม่เกินความยาวของตัวผล
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 20-40 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบกลม เปลือกสีน้ำตาลดำ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปหอก กว้าง 3-6 ซม. ยาว 10-14 ซม. เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนและเบี้ยว หลังใบมีต่อมอยู่ตามง่ามแขนงเส้นใบ ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อยาวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม มีขนนุ่ม กลีบรองดอกเป็นถ้วยเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกัน ผลกลมหรือรูปไข่เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่ง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 0.6 ซม. ยาว 1 ซม.ปีกยาว 1 คู่ รูปใบพาย ปลายปีกกว้างค่อยๆ สอบเรียวมาทางโคนปีก เส้นปีกตามยาวมี 7 เส้น ปีกสั้น มีความยาวไม่เกินความยาวของตัวผล
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นในพม่า ลาว ตอนใต้ของเวียดนาม กัมพูชา ไทยและมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบใกล้ลำธาร ที่ความสูง 100-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นในพม่า ลาว ตอนใต้ของเวียดนาม กัมพูชา ไทยและมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบใกล้ลำธาร ที่ความสูง 100-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ บูโด-สุไหงปาดี
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบูรณ์
-
นครศรีธรรมราช
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
ปัตตานี
-
นราธิวาส
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
เชียงราย, พะเยา
-
สุโขทัย
-
ชุมพร
-
นครศรีธรรมราช
-
ชลบุรี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก
-
ยะลา, นราธิวาส
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
-
- ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
-
- ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
-
- ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
-
- ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
การขยายพันธุ์ :
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เชื้อเพลิง,ไม้เนื้อแข็ง ทำไม้หมอนรถไฟ เรื่องเรือน และก่อสร้างอื่น ๆ ชัน ผสมน้ำมันใช้ยาแนวเรือหรือเคลือบเงา มีสรรพคุณทางสมุนไพรรักษาแผลสด เปลือกใช้เคี้ยวแทนหมาก แก้ปวดฟัน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |