ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ไม้ต้น : ขนาดกลาง สูง 8 - 15 เมตร ลำต้นเปลาตรง
- เปลือก : สีเทาปนดำเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตามยาว เปลือกในสีน้ำตาลปนแดงอ่อน เรือนยอดรูปทรงกลมทึบ
- ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 2.5 - 8 เซนติเมตร ยาว 10 - 30 เซนติเมตร ปลายแหลมทู่ โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ๆ หรือมน
- ดอกเล็ก : สีขาวหรือเหลืองอ่อน ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบ ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยว ๆ
- ผล : ผลค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 5 เซนติเมตร ผลแก่ค่อนข้างเละ แรก ๆ มีขนยาว คลุมเมล็ด ถ้าตัดตามขวางจะเห็นว่าระหว่างเปลือกนอกกับเนื้อขาว ๆ ข้างในนั้นไม่เรียบ ก้านผลยาว 2 - 10 มิลลิเมตร
- เปลือก : สีเทาปนดำเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตามยาว เปลือกในสีน้ำตาลปนแดงอ่อน เรือนยอดรูปทรงกลมทึบ
- ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 2.5 - 8 เซนติเมตร ยาว 10 - 30 เซนติเมตร ปลายแหลมทู่ โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ๆ หรือมน
- ดอกเล็ก : สีขาวหรือเหลืองอ่อน ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบ ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยว ๆ
- ผล : ผลค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 5 เซนติเมตร ผลแก่ค่อนข้างเละ แรก ๆ มีขนยาว คลุมเมล็ด ถ้าตัดตามขวางจะเห็นว่าระหว่างเปลือกนอกกับเนื้อขาว ๆ ข้างในนั้นไม่เรียบ ก้านผลยาว 2 - 10 มิลลิเมตร
-
- ไม้ต้น : ขนาดกลาง สูง 8 - 15 เมตร ลำต้นเปลาตรง
- เปลือก : สีเทาปนดำเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตามยาว เปลือกในสีน้ำตาลปนแดงอ่อน เรือนยอดรูปทรงกลมทึบ
- ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 2.5 - 8 เซนติเมตร ยาว 10 - 30 เซนติเมตร ปลายแหลมทู่ โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ๆ หรือมน
- ดอกเล็ก : สีขาวหรือเหลืองอ่อน ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบ ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยว ๆ
- ผล : ผลค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 5 เซนติเมตร ผลแก่ค่อนข้างเละ แรก ๆ มีขนยาว คลุมเมล็ด ถ้าตัดตามขวางจะเห็นว่าระหว่างเปลือกนอกกับเนื้อขาว ๆ ข้างในนั้นไม่เรียบ ก้านผลยาว 2 - 10 มิลลิเมตร
- เปลือก : สีเทาปนดำเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตามยาว เปลือกในสีน้ำตาลปนแดงอ่อน เรือนยอดรูปทรงกลมทึบ
- ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 2.5 - 8 เซนติเมตร ยาว 10 - 30 เซนติเมตร ปลายแหลมทู่ โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ๆ หรือมน
- ดอกเล็ก : สีขาวหรือเหลืองอ่อน ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบ ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยว ๆ
- ผล : ผลค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 5 เซนติเมตร ผลแก่ค่อนข้างเละ แรก ๆ มีขนยาว คลุมเมล็ด ถ้าตัดตามขวางจะเห็นว่าระหว่างเปลือกนอกกับเนื้อขาว ๆ ข้างในนั้นไม่เรียบ ก้านผลยาว 2 - 10 มิลลิเมตร
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุราษฎร์ธานี
-
จันทบุรี
-
พังงา
-
ชุมพร
-
นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พังงา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
หนองคาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองทุ่งทอง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย