ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 4-12 เมตร ใบเดี่ยว ออกสลับ กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 15-18 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสากสั้นหนาแน่น ก้านใบยาวประมาณ 0.5 ซม. ดอกเพศผู้ ออกเป็นกระจุกสั้นๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ติดทน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 12-16 อัน ก้านมีขน อับเรณูเกลี้ยง ดอกเพศเมีย ออกเดี่ยว ก้านดอกยาว 2-3 มม. คล้ายดอกเพศผู้แต่มีขนาดใหญ่กว่า ผลมีเนื้อหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 ซม. ผิวเกลี้ยง เมื่อสุกสีเหลือง
-
ไม้ต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 4-12 เมตร ใบเดี่ยว ออกสลับ กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 15-18 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสากสั้นหนาแน่น ก้านใบยาวประมาณ 0.5 ซม. ดอกเพศผู้ ออกเป็นกระจุกสั้นๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ติดทน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 12-16 อัน ก้านมีขน อับเรณูเกลี้ยง ดอกเพศเมีย ออกเดี่ยว ก้านดอกยาว 2-3 มม. คล้ายดอกเพศผู้แต่มีขนาดใหญ่กว่า ผลมีเนื้อหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 ซม. ผิวเกลี้ยง เมื่อสุกสีเหลือง
-
ไม้ต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 4-12 เมตร ใบเดี่ยว ออกสลับ กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 15-18 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสากสั้นหนาแน่น ก้านใบยาวประมาณ 0.5 ซม. ดอกเพศผู้ ออกเป็นกระจุกสั้นๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ติดทน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 12-16 อัน ก้านมีขน อับเรณูเกลี้ยง ดอกเพศเมีย ออกเดี่ยว ก้านดอกยาว 2-3 มม. คล้ายดอกเพศผู้แต่มีขนาดใหญ่กว่า ผลมีเนื้อหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 ซม. ผิวเกลี้ยง เมื่อสุกสีเหลือง
-
ไม้ต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 4-12 เมตร ใบเดี่ยว ออกสลับ กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 15-18 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสากสั้นหนาแน่น ก้านใบยาวประมาณ 0.5 ซม. ดอกเพศผู้ ออกเป็นกระจุกสั้นๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ติดทน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 12-16 อัน ก้านมีขน อับเรณูเกลี้ยง ดอกเพศเมีย ออกเดี่ยว ก้านดอกยาว 2-3 มม. คล้ายดอกเพศผู้แต่มีขนาดใหญ่กว่า ผลมีเนื้อหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 ซม. ผิวเกลี้ยง เมื่อสุกสีเหลือง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในป่าดิบเชิงเขาหรือหุบเขา ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
-
พบในป่าดิบเชิงเขาหรือหุบเขา ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
-
พบในป่าดิบเชิงเขาหรือหุบเขา ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
-
พบในป่าดิบเชิงเขาหรือหุบเขา ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 400-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
จันดง เป็นไม้ยืนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง จัดเป็นพรรณไม้หายากที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับมะพลับ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ตามป่าโปร่ง และป่าดงดิบทั่วไป
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
-
จันดง เป็นไม้ยืนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง จัดเป็นพรรณไม้หายากที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับมะพลับ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ตามป่าโปร่ง และป่าดงดิบทั่วไป
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
-
จันดง เป็นไม้ยืนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง จัดเป็นพรรณไม้หายากที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับมะพลับ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ตามป่าโปร่ง และป่าดงดิบทั่วไป
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
-
จันดง เป็นไม้ยืนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง จัดเป็นพรรณไม้หายากที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับมะพลับ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ตามป่าโปร่ง และป่าดงดิบทั่วไป
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
-
จันดง เป็นไม้ยืนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง จัดเป็นพรรณไม้หายากที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับมะพลับ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ตามป่าโปร่ง และป่าดงดิบทั่วไป
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
ลำต้น : มีเปลือกลำต้นเรียบสีดำอมเทา ส่วนเนื้อไม้ภายในเป็นสีขาวนวล มีความแข็งแรงทนทาน แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มกลมแน่นทึบ มีขนาดความสูงของลำต้นประมาณ 8-10 เมตร
ใบ : ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับตรงข้ามกันตามกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงรีแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบ หนาและเหนียว ใบที่แก่เต็มที่จะแข็งกรอบ แผ่นใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบมน ปลายใบแหลม ด้านล่างของใบจะมีสีอ่อนกว่าด้านบน มีขนสีแดงปกคลุมอยู่ทั่วบริเวณของยอดอ่อน
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกขนาดเล็กตามกิ่งก้านและลำต้น มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่แยกกันคนละต้น ในแต่ละช่อมีดอกย่อยสีขาวอมเขียวขนาด 1-1.5 ซม. เป็นจำนวนมาก ดอกจะทยอยบานพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม สามารถบานทนอยู่ได้นานประมาณ 7 วัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง โดยเฉพาะในช่วงเวลาสาย
ผล : มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมขนาดใหญ่ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลือง ติดผลได้น้อย
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบูรณ์
-
เลย
-
ชลบุรี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
ระนอง, ชุมพร
-
ระนอง, ชุมพร
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
ตาก
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง