ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม/ไม้ต้นขนาดเล็ก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ต้น: ไม้ต้น สูง 4-10 เมตร ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอก กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 7-12 เซนติเมตร ดอก: ดอกสีเขียวอ่อน ขนาดเล็ก แยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกเป็นกระจุก ตามซอกใบ ดอกเพศผู้มีก้านยาว ดอกเพศผู้มีก้านสั้น กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ผล: ผล เป็น ผลแห้งแตก มี 8-12 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร เมล็ดสีส้ม ขนาด 3-4 มิลลิเมตร ใบ 9-19(35) x 3-6 ซม. ใบเหนียว ไม่มีขน เส้นใบข้าง 6-8 คู่ ก้านใบ 4-8 มม. หูใบรูปสามเหลี่ยมสั้น ๆ ดอกตัวผู้มีก้านดอก กลีบเลี้ยรูปมนรี ดอกตัวเมียเป็นช่อแน่นยาวและแข็ง มีก้านดอกสั้นมากกว่า 0.5 มม. กลีบเลี้ยงกลม ก้านเกสรตัวเมียเป็นแท่งเกือบกลม ปลายไม่แยก ผล 0.8-1.2 ซม. มีก้านอ้วนสั้น มีพูลึกๆ 6-12 พู ค่อนข้างแบน ปลายเว้าเข้า มีก้านเกสรตัวเมียใหญ่คงอยู่
-
ไม้ต้น สูง 5-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่มักโค้งลงคล้ายเคียว ใบแก่สีแดง ช่อดอกแยกเพศ ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกเพศเมียสีเหลือง ก้านดอกสั้น มีกลีบดอก 6 กลีบ ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว สีเขียว เหลือง ถึงส้ม ผลกลมแบน ขอบเว้าเป็นพูตื้น 8-12 พู ออกดอกเดือน พ.ย.-ธ.ค.
-
ไม้ต้น สูง 5-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่มักโค้งลงคล้ายเคียว ใบแก่สีแดง ช่อดอกแยกเพศ ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกเพศเมียสีเหลือง ก้านดอกสั้น มีกลีบดอก 6 กลีบ ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว สีเขียว เหลือง ถึงส้ม ผลกลมแบน ขอบเว้าเป็นพูตื้น 8-12 พู ออกดอกเดือน พ.ย.-ธ.ค.
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าดิบริมน้ำหรือป่าดิบเขา กระจายกว้างขวาง พบทั่วในที่ล่งแจ้ง ในป่าผลัดใบและป่าดิบระดับ 550-1,300 ม. จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ระนอง, ชุมพร
-
ระนอง, ชุมพร
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ชุมพร
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ชุมพร
-
ชุมพร
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช