ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
- ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
- ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
- ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
การกระจายพันธุ์ :
- พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
- พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
- พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
- พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครราชสีมา
- สงขลา
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- พังงา
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- นนทบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
COUNTRY CULTIVAR
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด
DOATR 00009 พิลังกาสา Ardisia polycephala เชียงใหม่
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด