ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
- กระบก ไม้ต้น สูง 10-30 ม. ผลัดใบช่วงสั้นๆ ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดแน่นทึบ ทุกปลายยอดมีหูใบหุ้มเป็นรูปฝักดาบเรียวโค้ง
- ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมหอก กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 8-20 ซม. เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยง โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ขอบใบเรียบ
- ดอก สีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาวเป็น 3 เท่าของกลีบรองดอก ปลายกลีบดอกจะม้วนออก เกสรผู้มี 10 อัน
- ผล รูปป้อมรี เมล็ดเดี่ยวมีเปลือกแข็ง ภายในมีเนื้อแป้งสีขาว อัดแน่น
- ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมหอก กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 8-20 ซม. เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยง โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ขอบใบเรียบ
- ดอก สีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาวเป็น 3 เท่าของกลีบรองดอก ปลายกลีบดอกจะม้วนออก เกสรผู้มี 10 อัน
- ผล รูปป้อมรี เมล็ดเดี่ยวมีเปลือกแข็ง ภายในมีเนื้อแป้งสีขาว อัดแน่น
-
- กระบก ไม้ต้น สูง 10-30 ม. ผลัดใบช่วงสั้นๆ ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดแน่นทึบ ทุกปลายยอดมีหูใบหุ้มเป็นรูปฝักดาบเรียวโค้ง
- ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมหอก กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 8-20 ซม. เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยง โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ขอบใบเรียบ
- ดอก สีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาวเป็น 3 เท่าของกลีบรองดอก ปลายกลีบดอกจะม้วนออก เกสรผู้มี 10 อัน
- ผล รูปป้อมรี เมล็ดเดี่ยวมีเปลือกแข็ง ภายในมีเนื้อแป้งสีขาว อัดแน่น
- ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมหอก กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 8-20 ซม. เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยง โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ขอบใบเรียบ
- ดอก สีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาวเป็น 3 เท่าของกลีบรองดอก ปลายกลีบดอกจะม้วนออก เกสรผู้มี 10 อัน
- ผล รูปป้อมรี เมล็ดเดี่ยวมีเปลือกแข็ง ภายในมีเนื้อแป้งสีขาว อัดแน่น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ต้น: ไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ 20-30 เมตร โคนต้นมักเป็นพูพอน กิ่งอ่อนมีรอยหูใบที่หลุดร่วงชัดเจน ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรี ปลายและฐานแหลม หรือมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น เส้นใบย่อยแบบร่างแห เห็นชัดเจนทั้งสองด้าน ก้านใบเป็นร่องทางด้านบน เกลี้ยง หูใบหุ้มยอดอ่อน ปลายแหลม โค้งเล็กน้อยเป็นรูปดาบ ร่วงง่าย ใบอ่อนสีม่วง ดอก: ดอกออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนง เกิดตามง่ามใบ หรือปลายกิ่ง ใบประดับรูปไข่ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน กลับดอกสีขาวปนเขียว 5 กลีบ ปลายกลีบพับเข้าสู่ก้านดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ มี 2 ช่อง แต่ะละช่องมีออวุล 1 เม็ด ผล: ผลสดแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง ผลกลมรี ผลสุกสีเหลืองอาจอมเขียว มีเนื้อ เมล็ด 1 เมล็ด รูปไข่ หรือรูปรีแกมรูปไข่ ค่อนข้างแบน เนื้อในเมล็ดสีขาว และมีน้ำมัน เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลแดง เปลือกสากเหมือนเมล็ดทราย แตกเป็นเกล็ด เปลือกในสีน้ำตาลปนเหลือง
-
ต้น: ไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ 20-30 เมตร โคนต้นมักเป็นพูพอน กิ่งอ่อนมีรอยหูใบที่หลุดร่วงชัดเจน ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรี ปลายและฐานแหลม หรือมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น เส้นใบย่อยแบบร่างแห เห็นชัดเจนทั้งสองด้าน ก้านใบเป็นร่องทางด้านบน เกลี้ยง หูใบหุ้มยอดอ่อน ปลายแหลม โค้งเล็กน้อยเป็นรูปดาบ ร่วงง่าย ใบอ่อนสีม่วง ดอก: ดอกออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนง เกิดตามง่ามใบ หรือปลายกิ่ง ใบประดับรูปไข่ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน กลับดอกสีขาวปนเขียว 5 กลีบ ปลายกลีบพับเข้าสู่ก้านดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ มี 2 ช่อง แต่ะละช่องมีออวุล 1 เม็ด ผล: ผลสดแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง ผลกลมรี ผลสุกสีเหลืองอาจอมเขียว มีเนื้อ เมล็ด 1 เมล็ด รูปไข่ หรือรูปรีแกมรูปไข่ ค่อนข้างแบน เนื้อในเมล็ดสีขาว และมีน้ำมัน เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลแดง เปลือกสากเหมือนเมล็ดทราย แตกเป็นเกล็ด เปลือกในสีน้ำตาลปนเหลือง
-
ไม้ต้น สูง 10-30 ม. ผลัดใบช่วงสั้นๆ ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดแน่นทึบ ทุกปลายยอดมีหูใบหุ้มเป็นรูปฝักดาบเรียวโค้ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมหอก กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 8-20 ซม. เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยง โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ขอบใบเรียบ ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาวเป็น 3 เท่าของกลีบรองดอก ปลายกลีบดอกจะม้วนออก เกสรผู้มี 10 อัน ผลรูปป้อมรี เมล็ดเดี่ยวมีเปลือกแข็ง ภายในมีเนื้อแป้งสีขาว อัดแน่น
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. โคนต้นมีพูพอนตื้น ๆ หูใบเรียวยาวหุ้มยอด ยาว 1.5–3 ซม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 3–20 ซม. โคนเบี้ยวเล็กน้อย เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันไดกึ่งร่างแหละเอียด ก้านใบยาว 0.5–2 ซม. เป็นสันด้านบน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 5–15 ซม. ใบประดับรูปไข่ขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1–3 มม. ดอกสีขาวอมเขียว กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. กลีบดอกยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. จานฐานดอกรูปเบาะ ขอบจักตื้น ๆ รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละคาร์เพลมีออวุล 1 เม็ด ผลรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3–6 ซม. ผนังชั้นนอกเป็นเส้นใย ผนังชั้นในแข็งหนาประมาณ 5 มม.
-
ม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบแต่ใช้ช่วงสั้น ลำตันตรง โคนต้นมักเป็นพูพอน เปลือกสีเทาอ่อนปนน้ำตาล ค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด กิ่งอ่อนจะมีรอยแผล ใบขวั้นรอบตรงข้อ หูใบจะม้วนหุ้มยอดเรียวโค้งเป็นรูปฝักดาบ ใบเดี่ยว ติดเรียงสลับ ทรงใบรีแกมขอบขนาน ใบเกลี้ยง ดอกเล็กสีขาวอมเขียวอ่อนๆ มีขนนุ่มๆ ประปราย ออกรวมกันเป็นช่อโตตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกยาวกว่ากลีบเลี้ยง ปลายพับเข้าหาฐาน ผลกลมรีๆ หรือป้อม ผลแก่ออกสีเหลือง มีเนื้อเละๆ หุ้มเมล็ด เมล็ดเดี่ยว โต แข็ง ภายในมีสีขาว รสมัน
-
ไม้ต้น สูง 10-30 ม. ผลัดใบช่วงสั้นๆ ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดแน่นทึบ ทุกปลายยอดมีหูใบหุ้มเป็นรูปฝักดาบเรียวโค้ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมหอก กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 8-20 ซม. เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยง โคนใบมน ปลายใบแหลมทู่ ขอบใบเรียบ ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาวเป็น 3 เท่าของกลีบรองดอก ปลายกลีบดอกจะม้วนออก เกสรผู้มี 10 อัน ผลรูปป้อมรี เมล็ดเดี่ยวมีเปลือกแข็ง ภายในมีเนื้อแป้งสีขาว อัดแน่น
ระบบนิเวศ :
-
พบได้ในป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังและป่าชายหาดได้ทั่วทุกภาค ที่ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 300 เมตร
-
พบได้ในป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังและป่าชายหาดได้ทั่วทุกภาค ที่ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 300 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดิบแล้ง ป่าชายหาด ป่าเบญจพรรณ ป่าแดง และป่าหญ้า ที่ระดับความสูง 100-300 ม. ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
ในต่างประเทศพบในภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเชีย ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100 - 300 เมตร มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ตามป่าดิบแล้ง ป่าชายหาด ป่าเบญจพรรณ ป่าหญ้า และป่าแดง และยังจัดเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดร้อยเอ็ดด้วย
-
จากอินเดียถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดิบแล้ง ป่าชายหาด ป่าเบญจพรรณ ป่าแดง และป่าหญ้า ที่ระดับความสูง 100-300 ม. ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองทุ่งทอง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
สุราษฎร์ธานี
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
จันทบุรี
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
สุราษฎร์ธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
จันทบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
สตูล
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
จันทบุรี
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
สระแก้ว
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
ลำพูน, เชียงใหม่
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
กาญจนบุรี
-
น่าน
-
เชียงใหม่
-
ชลบุรี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สตูล, สงขลา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
นนทบุรี
-
หนองคาย
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด เนื่องจากเปลือกหุ้มเมล็ดแข็งมาก ก่อนเพราะอาจช่วยการงอกด้วยการตัดหัวท้ายของเมล็ดหรือขลิบตามร่อยแยกของเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด เนื่องจากเปลือกหุ้มเมล็ดแข็งมาก ก่อนเพราะอาจช่วยการงอกด้วยการตัดหัวท้ายของเมล็ดหรือขลิบตามร่อยแยกของเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,เชื้อเพลิง,เครื่องหอม,น้ำมันจากเมล็ดใช้ทำเทียนไข เมล็ดนำไปคั่ว กินได้ มีรสหวานมัน
-
น้ำมันเมล็ดกระบกช่วยบำรุงสมอง เนื้อไม้ช่วยทำให้เจริญอาหาร ช่วยบำรุงหัวใจ ช่วยรักษาริดสีดวงจมูก ช่วยบรรเทาอาการหอบหืด ช่วยให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ลูกกระบกใช้เป็นยาระบาย ด้วยการใช้ผลกระบกอ่อนประมาณ 1 กำมือ นำมาต้มผสมกับ พริกเกลือ แล้วใช้รับประทานสัปดาห์ละครั้ง (หากใช้เยอะมีฤทธิ์เป็นยาถ่าย) ช่วยฆ่า พยาธิในท้อง ช่วยขับพยาธิในเด็ก สามารถใช้ได้ทั้งคนและสัตว์ หากเป็นคนให้ใช้ผลกระบก ไม่แก่หรืออ่อนมากเกินไปประมาณ 3 ลูก ตำผสมกับน้ำซาวข้าว 1 ถ้วยตาไก่ขนาดกลาง แล้วกรองเอาแต่น้ำมาดื่ม กินก่อนนอนวันละครั้ง ติดต่อกัน 3 วัน ส่วนถ้าเป็นสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัขที่เป็นขี้เรื้อน ก็ให้ใช้สูตรเดียวกับคน แต่ให้เพิ่มปริมาณของผลกระบกเป็นเท่าตัว ใช้กินไม่เกินสามวันหายขาดช่วยบำรุงไต ช่วยแก้อาการคันตามผิวหนัง
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
ธัญพืชพื้นบ้าน หาทานยาก :: อัลมอนด์เมืองไทย-กระบก กระบก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Irvingia malayana) หรือ อัลมอนด์อีสาน หรือ อัลมอนด์เมืองไทย เป็นไม้ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาคเหนือเรียกมะมื่น ภาคอีสานเรียกหมากบก สุโขทัยและโคราชเรียกมะลื่น ภาษาส่วยในจังหวัดสุรินทร์เรียกหลักกาย มีลักษณะเป็นเมล็ดรูปไตขนาดใหญ่ เปลือกหุ้มเมล็ดมีสีน้ำตาล เนื้อในเป็นแป้งสีขาว พบมากทางภาคอีสานของประเทศไทย รวมทั้งประเทศเพื่อนบ้านด้วย ตั้งแต่เมียนมา กัมพูชา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไปถึงอินเดีย กระบกมักขึ้นในป่าเต็งรังและป่าดิบแล้ง ผลสุกเป็นอาหารทั้งสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง เช่น กระรอก วัว ควาย มักนำเมล็ดที่มีเปลือกแข
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
IUCN Red List
-
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
COUNTRY CULTIVAR
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |
---|---|---|---|---|
DOATR 00007 | กระบก | Irvingia malayana | อุบลราชธานี | |
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |