ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- ลำปาง
- นครราชสีมา
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กำแพงเพชร, ตาก
- ลำปาง, ลำพูน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- สุโขทัย
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- ศรีสะเกษ
- ชัยภูมิ
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พะเยา
- พะเยา
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ชุมพร
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง เป็นพุ่มคล้ายต้นลำไย ดอกช่อสีเหลือง ขึ้นอยู่ตามป่าโปร่งทั่วไป มีเนื้อไม้แข็งเหนียวสีน้ำตาลแกมแดง เสี้ยนค่อนข้างตรง เนื้อละเอียด แข็ง เหนียว ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ใบย่อย 3-5 ใบ แผ่นใบย่อยรูปใบหอกแกมรูปขอบขนานถึงรูปรี มักเบี้ยว ปลายเรียวแหลม โคนมน ถึงแหลมกว้าง ผิวใบเกลี้ยง ดอกเล็ก สีเหลืองนวล ออกเป็นช่อแขนงตามง่ามใบ ผลค่อนข้างกลม เมื่อสุกมีเหลือง เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีน้ำตาลแดง มีรสหวาน
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นในป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ ในประเทศไทยพบทั่วภาค ในต่างประเทศพบที่อินเดีย พม่า จีน ตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน