ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร กิ่งอ่อนมีขนประปราย ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบรูปลิ่ม มีตุ่มใบตามซอกเส้นแขนงใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกบริเวณซอกใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็กสีขาวอมเหลือง กลีบดอกบิดเวียน ผลเปลือกแข็ง เมล็ดเดียว เกลี้ยง รูปทรงคล้ายกระสวย กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีกยาว ๒ ปีก
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร กิ่งอ่อนมีขนประปราย ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบรูปลิ่ม มีตุ่มใบตามซอกเส้นแขนงใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกบริเวณซอกใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็กสีขาวอมเหลือง กลีบดอกบิดเวียน ผลเปลือกแข็ง เมล็ดเดียว เกลี้ยง รูปทรงคล้ายกระสวย กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีกยาว ๒ ปีก
การกระจายพันธุ์ :
- พบในประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบทุกภาค บริเวณป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น
- พบในประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบทุกภาค บริเวณป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- - ต้น: ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ความสูง 15-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือรูปกรวยแหลม ลำต้นเปลาตรง และมักบิด โคนต้นอาจเป็นรากพอน
- ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ใบกว้าง 2.5-3 เซนติเมตร ยาว 6-8.5 เซนติเมตร ฐานใบทู่หรือกลม และค่อยๆ เรียวไปหาปลายใบ ปลายใบยาวคล้ายหาง เนื้อใบค่อนข้างบาง ใบเกลี้ยงเป็นมันทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีแดงเรื่อๆ ใบแห้งสีเขียวอ่อน เส้นแขนงใบ 8-10 คู่ ก้านใบเมื่อแห้งจะมีสีดำ
ดอก: ดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อสั้น เกิดระหว่างง่ามใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายกลีบแยกเป็น 5 แฉก มีขนประปราย กลีบดอก 5 กลีบ กลีบดอกจีบเวียบเป็นรูปกังหัน กลีบดอกด้านนอกมีขนนุ่ม ด้านในเกลี้ยง กลีบดอกยาวเป็นสองเท่าของกลีบเลี้ยง สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน มีขนนุ่มทั่วไปตามก้านช่อดอก
- ผล: ผลแห้งและไม่แตก ผลผิวแข็ง เป็นรูปขอบขนาน มีปีก 5 ปีก ซึ่งเจริญมาจากกลีบเลี้ยง ผลและโคนปีกไม่เชื่อมติดกัน ปีกยาว 2 ปีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร เส้นปีกจำนวน 8 เส้น ปีกสีน้ำตาลดำ ปีกสั้น 3 ปีก สั้นมากติดกันโคนผล
- เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลแก่ แตกล่อนเป็นสะเก็ดสั้นๆห้อยลง เปลือกในสีเหลืองปนส้ม
- - ต้น: ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ความสูง 15-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือรูปกรวยแหลม ลำต้นเปลาตรง และมักบิด โคนต้นอาจเป็นรากพอน
- ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ใบกว้าง 2.5-3 เซนติเมตร ยาว 6-8.5 เซนติเมตร ฐานใบทู่หรือกลม และค่อยๆ เรียวไปหาปลายใบ ปลายใบยาวคล้ายหาง เนื้อใบค่อนข้างบาง ใบเกลี้ยงเป็นมันทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีแดงเรื่อๆ ใบแห้งสีเขียวอ่อน เส้นแขนงใบ 8-10 คู่ ก้านใบเมื่อแห้งจะมีสีดำ
ดอก: ดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อสั้น เกิดระหว่างง่ามใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายกลีบแยกเป็น 5 แฉก มีขนประปราย กลีบดอก 5 กลีบ กลีบดอกจีบเวียบเป็นรูปกังหัน กลีบดอกด้านนอกมีขนนุ่ม ด้านในเกลี้ยง กลีบดอกยาวเป็นสองเท่าของกลีบเลี้ยง สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน มีขนนุ่มทั่วไปตามก้านช่อดอก
- ผล: ผลแห้งและไม่แตก ผลผิวแข็ง เป็นรูปขอบขนาน มีปีก 5 ปีก ซึ่งเจริญมาจากกลีบเลี้ยง ผลและโคนปีกไม่เชื่อมติดกัน ปีกยาว 2 ปีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร เส้นปีกจำนวน 8 เส้น ปีกสีน้ำตาลดำ ปีกสั้น 3 ปีก สั้นมากติดกันโคนผล
- เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลแก่ แตกล่อนเป็นสะเก็ดสั้นๆห้อยลง เปลือกในสีเหลืองปนส้ม
- - ต้น: ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ความสูง 15-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือรูปกรวยแหลม ลำต้นเปลาตรง และมักบิด โคนต้นอาจเป็นรากพอน
- ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ใบกว้าง 2.5-3 เซนติเมตร ยาว 6-8.5 เซนติเมตร ฐานใบทู่หรือกลม และค่อยๆ เรียวไปหาปลายใบ ปลายใบยาวคล้ายหาง เนื้อใบค่อนข้างบาง ใบเกลี้ยงเป็นมันทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีแดงเรื่อๆ ใบแห้งสีเขียวอ่อน เส้นแขนงใบ 8-10 คู่ ก้านใบเมื่อแห้งจะมีสีดำ
ดอก: ดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อสั้น เกิดระหว่างง่ามใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายกลีบแยกเป็น 5 แฉก มีขนประปราย กลีบดอก 5 กลีบ กลีบดอกจีบเวียบเป็นรูปกังหัน กลีบดอกด้านนอกมีขนนุ่ม ด้านในเกลี้ยง กลีบดอกยาวเป็นสองเท่าของกลีบเลี้ยง สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน มีขนนุ่มทั่วไปตามก้านช่อดอก
- ผล: ผลแห้งและไม่แตก ผลผิวแข็ง เป็นรูปขอบขนาน มีปีก 5 ปีก ซึ่งเจริญมาจากกลีบเลี้ยง ผลและโคนปีกไม่เชื่อมติดกัน ปีกยาว 2 ปีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร เส้นปีกจำนวน 8 เส้น ปีกสีน้ำตาลดำ ปีกสั้น 3 ปีก สั้นมากติดกันโคนผล
- เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลแก่ แตกล่อนเป็นสะเก็ดสั้นๆห้อยลง เปลือกในสีเหลืองปนส้ม
- - ต้น: ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ความสูง 15-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือรูปกรวยแหลม ลำต้นเปลาตรง และมักบิด โคนต้นอาจเป็นรากพอน
- ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ใบกว้าง 2.5-3 เซนติเมตร ยาว 6-8.5 เซนติเมตร ฐานใบทู่หรือกลม และค่อยๆ เรียวไปหาปลายใบ ปลายใบยาวคล้ายหาง เนื้อใบค่อนข้างบาง ใบเกลี้ยงเป็นมันทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีแดงเรื่อๆ ใบแห้งสีเขียวอ่อน เส้นแขนงใบ 8-10 คู่ ก้านใบเมื่อแห้งจะมีสีดำ
ดอก: ดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อสั้น เกิดระหว่างง่ามใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายกลีบแยกเป็น 5 แฉก มีขนประปราย กลีบดอก 5 กลีบ กลีบดอกจีบเวียบเป็นรูปกังหัน กลีบดอกด้านนอกมีขนนุ่ม ด้านในเกลี้ยง กลีบดอกยาวเป็นสองเท่าของกลีบเลี้ยง สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน มีขนนุ่มทั่วไปตามก้านช่อดอก
- ผล: ผลแห้งและไม่แตก ผลผิวแข็ง เป็นรูปขอบขนาน มีปีก 5 ปีก ซึ่งเจริญมาจากกลีบเลี้ยง ผลและโคนปีกไม่เชื่อมติดกัน ปีกยาว 2 ปีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร เส้นปีกจำนวน 8 เส้น ปีกสีน้ำตาลดำ ปีกสั้น 3 ปีก สั้นมากติดกันโคนผล
- เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลแก่ แตกล่อนเป็นสะเก็ดสั้นๆห้อยลง เปลือกในสีเหลืองปนส้ม
- - ต้น: ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ความสูง 15-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือรูปกรวยแหลม ลำต้นเปลาตรง และมักบิด โคนต้นอาจเป็นรากพอน
- ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ใบกว้าง 2.5-3 เซนติเมตร ยาว 6-8.5 เซนติเมตร ฐานใบทู่หรือกลม และค่อยๆ เรียวไปหาปลายใบ ปลายใบยาวคล้ายหาง เนื้อใบค่อนข้างบาง ใบเกลี้ยงเป็นมันทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีแดงเรื่อๆ ใบแห้งสีเขียวอ่อน เส้นแขนงใบ 8-10 คู่ ก้านใบเมื่อแห้งจะมีสีดำ
ดอก: ดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อสั้น เกิดระหว่างง่ามใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายกลีบแยกเป็น 5 แฉก มีขนประปราย กลีบดอก 5 กลีบ กลีบดอกจีบเวียบเป็นรูปกังหัน กลีบดอกด้านนอกมีขนนุ่ม ด้านในเกลี้ยง กลีบดอกยาวเป็นสองเท่าของกลีบเลี้ยง สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน มีขนนุ่มทั่วไปตามก้านช่อดอก
- ผล: ผลแห้งและไม่แตก ผลผิวแข็ง เป็นรูปขอบขนาน มีปีก 5 ปีก ซึ่งเจริญมาจากกลีบเลี้ยง ผลและโคนปีกไม่เชื่อมติดกัน ปีกยาว 2 ปีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร เส้นปีกจำนวน 8 เส้น ปีกสีน้ำตาลดำ ปีกสั้น 3 ปีก สั้นมากติดกันโคนผล
- เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลแก่ แตกล่อนเป็นสะเก็ดสั้นๆห้อยลง เปลือกในสีเหลืองปนส้ม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุบลราชธานี
- พิษณุโลก
- สระบุรี
- นครราชสีมา
- เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
- เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- สระแก้ว
- สงขลา
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- สตูล, สงขลา
- พังงา
- พังงา
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- ศรีสะเกษ
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- เลย, เพชรบูรณ์
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ผาแต้ม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
- อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
การขยายพันธุ์ :
- ตะเคียนหินขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การสืบพันธุ์ของไม้ชนิดนี้ดีมากและเป็นพันธุ์ไม้ที่เข้าไปแทนที่ชนิดไม้เดิมของป่าบริเวณนั้นๆ ได้ดี
- ตะเคียนหินขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การสืบพันธุ์ของไม้ชนิดนี้ดีมากและเป็นพันธุ์ไม้ที่เข้าไปแทนที่ชนิดไม้เดิมของป่าบริเวณนั้นๆ ได้ดี
- ตะเคียนหินขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การสืบพันธุ์ของไม้ชนิดนี้ดีมากและเป็นพันธุ์ไม้ที่เข้าไปแทนที่ชนิดไม้เดิมของป่าบริเวณนั้นๆ ได้ดี
- ตะเคียนหินขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การสืบพันธุ์ของไม้ชนิดนี้ดีมากและเป็นพันธุ์ไม้ที่เข้าไปแทนที่ชนิดไม้เดิมของป่าบริเวณนั้นๆ ได้ดี
- ตะเคียนหินขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การสืบพันธุ์ของไม้ชนิดนี้ดีมากและเป็นพันธุ์ไม้ที่เข้าไปแทนที่ชนิดไม้เดิมของป่าบริเวณนั้นๆ ได้ดี