ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ต้น:ไม้ต้นกึ่งผลัดใบขนาดเล็กถึงกลางสูง 15 เมตร
ใบ:ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปร่างรี ขอบขนาน รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ปลายใบมน ฐานใบมนหรือรูปหัวใจหรือแบบตัด เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น ขอบใบเรียบหรือมีขน ใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบกว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 2.5-4 ซม.
ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) ดอกตัวผู้ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปถ้วย กลีบดอกรูปเหยือกน้ำ เกสรเพศผู้ติดกลีบดอกมี 14-20 อัน ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
ผล:เป็นผลสดแบบ berry กลม ผลแก่สีเหลือง ผลแก่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน
เปลือก:เปลือกนอกสีดำ แตกแบบ fissured bark เปลือกในสีน้ำตาลอมเขียว
อื่นๆ: บริเวณลำต้นใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นหนาม
- ต้น:ไม้ต้นกึ่งผลัดใบขนาดเล็กถึงกลางสูง 15 เมตร
ใบ:ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปร่างรี ขอบขนาน รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ปลายใบมน ฐานใบมนหรือรูปหัวใจหรือแบบตัด เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น ขอบใบเรียบหรือมีขน ใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบกว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 2.5-4 ซม.
ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) ดอกตัวผู้ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปถ้วย กลีบดอกรูปเหยือกน้ำ เกสรเพศผู้ติดกลีบดอกมี 14-20 อัน ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
ผล:เป็นผลสดแบบ berry กลม ผลแก่สีเหลือง ผลแก่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน
เปลือก:เปลือกนอกสีดำ แตกแบบ fissured bark เปลือกในสีน้ำตาลอมเขียว
อื่นๆ: บริเวณลำต้นใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นหนาม
- ต้น:ไม้ต้นกึ่งผลัดใบขนาดเล็กถึงกลางสูง 15 เมตร
ใบ:ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปร่างรี ขอบขนาน รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ปลายใบมน ฐานใบมนหรือรูปหัวใจหรือแบบตัด เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น ขอบใบเรียบหรือมีขน ใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบกว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 2.5-4 ซม.
ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) ดอกตัวผู้ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปถ้วย กลีบดอกรูปเหยือกน้ำ เกสรเพศผู้ติดกลีบดอกมี 14-20 อัน ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
ผล:เป็นผลสดแบบ berry กลม ผลแก่สีเหลือง ผลแก่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน
เปลือก:เปลือกนอกสีดำ แตกแบบ fissured bark เปลือกในสีน้ำตาลอมเขียว
อื่นๆ: บริเวณลำต้นใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นหนาม
- ต้น:ไม้ต้นกึ่งผลัดใบขนาดเล็กถึงกลางสูง 15 เมตร
ใบ:ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปร่างรี ขอบขนาน รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ปลายใบมน ฐานใบมนหรือรูปหัวใจหรือแบบตัด เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น ขอบใบเรียบหรือมีขน ใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบกว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 2.5-4 ซม.
ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) ดอกตัวผู้ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปถ้วย กลีบดอกรูปเหยือกน้ำ เกสรเพศผู้ติดกลีบดอกมี 14-20 อัน ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
ผล:เป็นผลสดแบบ berry กลม ผลแก่สีเหลือง ผลแก่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน
เปลือก:เปลือกนอกสีดำ แตกแบบ fissured bark เปลือกในสีน้ำตาลอมเขียว
อื่นๆ: บริเวณลำต้นใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นหนาม
- ต้น:ไม้ต้นกึ่งผลัดใบขนาดเล็กถึงกลางสูง 15 เมตร
ใบ:ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปร่างรี ขอบขนาน รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ปลายใบมน ฐานใบมนหรือรูปหัวใจหรือแบบตัด เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น ขอบใบเรียบหรือมีขน ใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบกว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 2.5-4 ซม.
ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) ดอกตัวผู้ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปถ้วย กลีบดอกรูปเหยือกน้ำ เกสรเพศผู้ติดกลีบดอกมี 14-20 อัน ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
ผล:เป็นผลสดแบบ berry กลม ผลแก่สีเหลือง ผลแก่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน
เปลือก:เปลือกนอกสีดำ แตกแบบ fissured bark เปลือกในสีน้ำตาลอมเขียว
อื่นๆ: บริเวณลำต้นใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นหนาม
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 เมตร กิ่งมีหนาม ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี รูปขอบขนาน รูปไข่ หรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-5 เซนติเมตร ยาว 4-12 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนเว้ารูปหัวใจ แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น ก้านใบยาว 0.2-1 เซนติเมตร ดอก แบบดอกแยกเพศต่างต้นกลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยก 4 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันปลายแยก 4 กลีบ สีขาวอมเหลือง ดอกเพศผู้ก้านดอกยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยง มีขนประปรายทั้งสองด้าน เกสรเพศผู้ 14-20 เกสร รังไขไม่เจริญมีขนยาวดอกเพศเมียเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบดอก มีเกสรเพศผู้เป็นหมัน 4-12 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ มี 8 ช่อง เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย 4 ก้าน ผล แบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด ทรงกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดทน ปลายกลีบบานออกหรือพับงอกลับ มีหลายเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทัยธานี
- เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- จันทบุรี
- กำแพงเพชร
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- พะเยา, เชียงราย
- ตาก
- สุโขทัย
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ชุมพร, ระนอง
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ตาก
- ตาก
- สุราษฎร์ธานี
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ออกดอกเดือนมีนาคม - พฤษภาคม ติดผลเดือน มิถุนายน - พฤศจิกายน
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และตามเขาหินปูนในป่าดิบขึ้น ที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 600 เมตร
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด