ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่น เปลือกสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบสอบปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นหรือเป็นกระจุกตามง่ามใบ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกแยกกันมี 5-6 กลีบ เกสรผู้ขนาดสั้น ติดอยู่ที่กลีบดอก ผลเป็นผลสด รูปไข่ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. เมื่อสุกสีแดง มีจุดประทั่วไป มีเมล็ดแข็ง 1 เมล็ด
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่น เปลือกสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบสอบปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นหรือเป็นกระจุกตามง่ามใบ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกแยกกันมี 5-6 กลีบ เกสรผู้ขนาดสั้น ติดอยู่ที่กลีบดอก ผลเป็นผลสด รูปไข่ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. เมื่อสุกสีแดง มีจุดประทั่วไป มีเมล็ดแข็ง 1 เมล็ด
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่น เปลือกสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบสอบปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นหรือเป็นกระจุกตามง่ามใบ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกแยกกันมี 5-6 กลีบ เกสรผู้ขนาดสั้น ติดอยู่ที่กลีบดอก ผลเป็นผลสด รูปไข่ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. เมื่อสุกสีแดง มีจุดประทั่วไป มีเมล็ดแข็ง 1 เมล็ด
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่น เปลือกสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบสอบปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นหรือเป็นกระจุกตามง่ามใบ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกแยกกันมี 5-6 กลีบ เกสรผู้ขนาดสั้น ติดอยู่ที่กลีบดอก ผลเป็นผลสด รูปไข่ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. เมื่อสุกสีแดง มีจุดประทั่วไป มีเมล็ดแข็ง 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในอินเดียถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 800-1,000 ม.
-
พบกระจายในอินเดียถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 800-1,000 ม.
-
พบกระจายในอินเดียถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 800-1,000 ม.
-
พบกระจายในอินเดียถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 800-1,000 ม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พะเยา, เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
สตูล, สงขลา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,ผลสุกและเมล็ดที่ต้มใช้รับประทานได้